โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดรับแล้ว ทุนโครงการ “อาชีวะฝีมือชน คนสร้างชาติ”NEXT Next post: อยากเป็นครู-เป็นสจ๊วต-เป็นนักธุรกิจระหว่างประเทศ…เหตุผลที่นักเรียนแห่เลือก”สวนสุนันทา”
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster June 4, 2019 EZ Webmaster June 4, 2019 ที่นั่ง TCAS 62 เหลืออื้อ มหา’ลัยล้น ห้องเรียนร้าง วิกฤตอุดมศึกษาไทย TCAS (Thai University Central Admission System) หรือ ทีแคส ระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ปี 2562 เผชิญปัญหาซ้ำรอยเดิม ที่นั่งว่างหลักแสน แม้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ๆ ขึ้นเป็นจำนวนมาก สุดท้ายทยอยปิดตัว สะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาหากไม่ปรับตัวคงถึงการอวสานกล่าวสำหรับระบบทีแคสนั้น จะเปิดให้สมัครเข้ามหาวิทยาลัยได้ทั้งหมด 5 รอบ รอบที่ 1 สมัครโดยใช้แฟ้มสะสม (Portfolio) รอบที่ 2 การรับแบบโควตาของมหาวิทยาลัย ใช้คะแนน GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ รอบที่ 3 เป็นรอบรับตรง รอบที่ 4 เป็นการรับแบบแอดมิชชัน และรอบที่ 5 รับตรงแบบอิสระ ของแต่ละมหาวิทยาลัยเมื่อเร็วๆ นี้ ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) แถลงการณ์ผลสอบคัดเลือกทีแคส รอบ 1 – 4 ซึ่งมีสถาบันอุดมศึกษาเข้าร่วม 70 สถาบัน มีสาขาวิชาที่ประกาศรับ 91,340 สาขาวิชา จำนวนรับรวม 5 รอบ มีจำนวน 445,364 ที่นั่ง รอบที่ 1 รับ 130,140 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 58,364 ที่นั่ง คิดเป็น 44.85 % รอบที่ 2 รับ 99,033 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 51,213 ที่นั่ง คิดเป็น 51.71 % รอบที่ 3 รับ 95,124 ที่นั่ง ยืนยันสิทธิ์ 42,229 ที่นั่ง คิดเป็น 44 % รอบที่ 4 แอดมิชชัน รับ 91,340 ที่นั่ง ผ่านการคัดเลือกและรอการยืนยันสิทธิ์ 52,315 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 30 พ.ค. 2562)และสุดท้าย รอบที่ 5 การรับตรงอิสระ รับ 29,727 ที่นั่ง (อยู่ระหว่างการคัดเลือก)จะเห็นว่าในแต่ละรอบมีจำนวนผู้สละสิทธิ์เป็นจำนวนมาก คำนวณคร่าวๆ มีผู้ยืนยันสิทธิ 4 รอบ ประมาณ 204,121 ที่นั่ง จากที่นั่งทั้งหมด 445,364 ที่นั่ง ซึ่งตัวเลขนี้ที่ยังไม่รวมในกลุ่มสถาบันที่ไม่เข้าร่วมกับ ทปอ. ทั้งมหาวิทยาลัยราชภัฏ (มรภ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) และมหาวิทยาลัยเอกชนบางแห่ง“สถานการณ์ของอุดมศึกษาไทยในปี 2562 มหาวิทยาลัยควรจะมีการปรับตัวอย่างมาก เพราะดูจากจำนวนนักศึกษาที่รับสมัครผ่านระบบ TCAS 61 ซึ่งมีการรับสมัคร 5 รอบ พบว่าจำนวนนักศึกษาน้อยกว่าจำนวนที่นั่งที่มหาวิทยาลัยจะรับ อีกทั้งในแต่ละรอบมีการสละสิทธิ์จำนวนมาก ถือเป็นเรื่องที่น่ากลัวสำหรับมหาวิทยาลัยไทย เพราะหากจำนวนนักศึกษาน้อยลงเรื่อยๆ และหลักสูตรไม่ได้มาตรฐานต่างชาติ ไม่มีนักศึกษาต่างชาติเข้าเรียน มหาวิทยาลัยจะเจอวิกฤต” นายสุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า และประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย(ทปอ.) วิเคราะห์สถานการณ์สถานการณ์ปัญหาดังกล่าวเกิดจากจำนวนเด็กเกิดใหม่น้อยลง อันเป็นผลมาตั้งแต่วิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ่ ปี 2540 ที่เรียกว่า “วิกฤตต้มยำกุ้ง” ส่งผลให้อัตราการเกิดใหม่ในช่วงเวลานั้นน้อยและลดลงอย่างต่อเนื่อง จำนวนเด็กเกิดในแต่ละปีน้อยลง จาก 30 ปีก่อน เด็กเกิดเกิน 1,000,000 คนต่อปี ปัจจุบันเด็กเกิดใหม่ 600,000 – 700,000 คนต่อปีเท่านั้น รวมทั้ง การเข้าสู่สังคมผู้สูงวัยของประเทศไทย เป็นสัญญาณชัดเจนว่าหากมหาวิทยาลัยไม่ปรับตัวย่อมประสบปัญหา กล่าวคือจำนวนนักศึกษาที่ลดลงหมายถึงรายได้ของมหาวิทยาลัยหดหาย บางแห่งหากปรับตัวไม่ทันแบกรับภาระขาดทุนไม่ไหวก็จำต้องปิดอย่างไรก็ตาม ข้อมูลการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส ปี 2562 ผลการคัดเลือกในรอบที่ 3 รับตรงร่วม และรอบที่ 4 แอดมิชชัน พบว่า คณะยอดนิยมยังเป็นสายสังคม เช่น บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ มากกว่าคณะสายวิทยาศาสตร์ และคณะนิเทศศาสตร์ คณะครุศาสตร์ คนเลือกเรียนน้อยลงอย่างเห็นได้ชัด พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการ ทปอ. วิเคราะห์สาเหตุที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมาก นอกจากผลกระทบของอัตราการเกิดที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง ปัญหาส่วนหนึ่งคือมีนักเรียนที่สมัครรอบที่ 1 และรอบที่ 3 ตัดสินใจสละสิทธิ เลือกมาสมัครในรอบที่ 3 และรอบที่ 4 มากกว่าปี 2561 ผ่านมา ซึ่งทำให้มหาวิทยาลัยทำการเพิ่มจำนวนรับในรอบที่ 3 และที่ 4 ขณะเดียวกัน มหาวิทยาลัยดังต่างๆ ยังคงต้องแข่งกันเอง หลักสูตรในที่ตั้งกับวิทยาเขต ซึ่งเด็กส่วนใหญ่ต้องการเรียนในที่ตั้งมากกว่า ในส่วนนี้ส่งผลให้วิทยาเขตที่เปิดรับสาขาเดียวกันกับที่ตั้งมีที่นั่งเหลือเป็นจำนวนมากสำหรับทิศทางการเลือกเรียนของเด็ก พีระพงศ์ วิเคราะห์รายละเอียดเจาะลึกลงว่า รอบที่ 4 สาขาที่มีผู้สมัครจำนวนมาก คือ สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ ส่วนรอบที่ 3 เป็นสายสังคมศาสตร์ เนื่องจากมีกลุ่มเด็กเก่งที่รู้ตัวว่าไม่สามารถสมัครคัดเลือกในกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) มาสมัคร ซึ่งกลุ่มนี้ส่วนใหญ่จะสอบติดและจำนวนมากสละสิทธิเพื่อลองสมัครรอบถัดไป ดังนั้น เด็กที่เรียนระดับกลางๆ จะข้าไปสมัครรอบที่ 4 เพราะเกณฑ์การคัดเลือกมีความยืดหยุ่นค่อนข้างมาก รวมถึง ใช้คะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (ONET) และเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (GPAX) มาเป็นองค์ประกอบการพิจารณา ต่างกับรอบที่ 3 ที่ใช้คะแนนความถนัดทั่วไป (GAT) คะแนนความถนัดทางวิชาการ/วิชาชีพ (PAT) วิชาสามัญ 9 วิชา ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนดเท่านั้น อีกทั้งพฤติกรรมของเด็กจะเลือกเรียนสาขาตามกระแสที่พูดถึงในโซเชียลมีเดีย ทำให้เทรนด์การเลือกเรียนมาทางสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์และการเกษตร ซึ่งเป็นค่านิยมที่สวนทางกับความต้องการของประเทศมาหลายปีแล้วอย่างไรก็ตาม ทปอ. ได้ตั้งทีมวิเคราะห์การเลือกสาขาเรียนของนักเรียน ซึ่งมีผลต่อการกำหนดทิศทางการผลิตบัณฑิต ต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศและสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล“เคยมีการทำนายว่า ปี 2563 มหาวิทยาลัยจะปิดตัวลงอีก และจะเหลือมหาวิทยาลัยทั้งระบบอยู่ไม่เกิน 120 แห่ง ในจำนวนที่เหลือแต่ละแห่งจะทยอยปิดคณะ/สาขาลงอีกจำนวนมาก” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ ประธานที่ปรึกษาอธิการบดีมหาวิทยาลัยสวนดุสิต (มสด.) กล่าวสะท้อนวิกฤตอุดมศึกษาโดยยกตัวอย่างการปรับตัวของ มสด. “มสด. เอง ที่ผ่านมา เปิดสอนทั้งหมด 60 สาขา ปัจจุบันปิดไปแล้วกว่า 36 สาขา ส่วนใหญ่เป็นสาขานิเทศศาสตร์ ครุศาสตร์ เหตุผลเพราะไม่มีคนเลือกเรียน ล้าสมัย อย่าง มสด. สาขาครุศาสตร์ เหลือเฉพาะสาขาปฐมวัย และประถมศึกษา และเน้นสอนในหลักสูตรคู่ขนานมากขึ้น เช่น นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ เพื่อให้เด็กได้เรียนรู้รอบด้าน เพราะอนาคตการเรียนเพียงศาสตร์เดียวไม่เพียงพอต่อการทำงานในอนาคต “มหาวิทยาลัยเองต้องปรับตัว โดยเฉพาะเรื่องหลักสูตรที่จะต้องมีความทันสมัย ทันต่อโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา หลายปีที่ผ่านมามีมหาวิทยาลัยเกิดขึ้นใหม่จำนวนมากกว่า 200 แห่ง ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมา ปิดไปแล้วจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน ปัจจุบันเหลือมหาวิทยาลัยอยู่ประมาณ 150 แห่ง” รศ.ดร.สุขุม เฉลยทรัพย์ กล่าวเกิดสถานการณ์จำนวนนักศึกษาระดับอุดมศึกษาลด ห้องเรียนร้าง มหาวิทยาลัยทะยอยปิดตัว ใบปริญญาบัตรเสื่อมค่า สอดคล้องกับทิศทางที่สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) เคยคาดการณ์ไว้ว่า อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยไทยจำนวน 3 ใน 4 จะไปไม่รอดด้านนักวิชาการด้านการศึกษา ศ.สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ ราชบัณฑิตประเภทวิชาศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ทางสารัตถะ เคยวิเคราะห์ไว้ว่า ปัจจุบันเด็กนักเรียนเลือกเรียนในคณะที่จบมามีงานทำแน่นอน ต่างอดีตที่เลือกเรียนเพื่อต้องการทำงานราชการ ซึ่งระบบราชการทุกวันนี้ปรับโครงสร้างลดจำนวนข้าราชการลง จึงทำให้หันไปเลือกเรียนสายอาชีพเลี่ยงตกงาน วางแผนชีวิตแบบทำงานไปด้วยเรียนไปด้วยมากขึ้น มหาวิทยาลัยต่างชาติระดับโลกมาเปิดหลักสูตรออนไลน์ เพื่อดึงนักศึกษาสร้างทางเลือกให้คนวัยเรียนมากขึ้น ระบบมหาวิทยาลัยออนไลน์ตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่อย่างเต็มที่ เช่น บางสถาบันที่มีชื่อเสียงมากของสิงคโปร์ ดึงดูดผู้เรียนทุกกลุ่มด้วยการเปิดโอกาสว่าสามารถเรียนได้ โดยไม่ต้องมีวุฒิการศึกษาจบชั้นมัธยม ใครก็ได้ที่ต้องการเรียนสามารถสะสมหน่วยกิตจนครบจบการศึกษาได้ มีระบบออกแบบไว้รองรับ หลายประเทศมีการเรียนออนไลน์ที่แพร่หลาย เพราะตอบโจทย์คนวัยทำงาน สำหรับในประเทศไทยก็เริ่มมีบางสถาบันจัดหลักสูตรนี้อยู่ ซึ่งยังต้องมีหน่วยงานเข้าไปกำกับดูแลและรับรอง อีกทั้ง อุดมศึกษาของไทยที่ผ่านมาไม่เน้นคุณภาพ เน้นธุรกิจกันมากไปมีการเปิดสอนนอกสถานที่กันมาก มีหลักสูตรพิเศษต่างๆ เน้นแต่ปริมาณหารายได้จากค่าเล่าเรียน ต่างจากในหลายประเทศการจะขออนุมัติเปิดหลักสูตรไม่ใช่เรื่องง่าย เช่น ญี่ปุ่น ถ้าจะขอเปิดปริญญาเอกสาขาใดสาขาหนึ่งรัฐบาลต้องอนุมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางต่างๆ เป็นต้นปรากฏการณ์เหล่านี้เป็นเหตุผลที่มหาวิทยาลัยไทยต้องทบทวนและปรับตัว ไม่เช่นนั้นคงต้องปิดตัวไปตามๆ กัน ที่มา https://mgronline.com/daily/detail/9620000051779?fbclid=IwAR2JL9hN804NHgHR32KyaCJ9UhjhF83GQjSDuW37ckjckakvZHQcAipAG5Q
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่