โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน…
เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่