มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก tui sakrapeeNovember 5, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เปิดรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ประจำปีการศึกษา 2568 สมัครด้วยวิธีออนไลน์ ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. – 20 ธ.ค. 67 ระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรง 1 (วุฒิ ปวช./ปวส.) ประเภทหลักสูตรภาคสมทบ… โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เปิดอนาคตเด็กไทย กับโอกาสการทำงานในบริษัทยักษ์ใหญ่จีน ผ่าน 3 มุมมองใหม่NEXT Next post: นศ. ACU ออสเตรเลีย เรียนรู้ด้านกายภาพ ม.รังสิต
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster June 27, 2019 EZ Webmaster June 27, 2019 มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale มหาวิทยาลัยมหิดล เดินหน้าสร้าง Rating Scale ตัวชี้วัดศักยภาพสู่มหาวิทยาลัยสุขภาพระดับอาเซียน วันที่ ๒๗ มิถุนายน ๒๕๖๒ ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล พร้อมด้วย ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) และดร.ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมแถลงการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพตามกรอบ Healthy University Framework ในโอกาสนี้ ได้มีพิธีลงนามความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดลและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมี นายแพทย์วิวัฒน์ โรจนพิทยากร เป็นผู้อำนวยการสำนักงานเลขานุการเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนด้านการสร้างเสริมสุขภาพ คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล และแขกผู้มีเกียรติเข้าร่วมงาน ณ หอพระราชประวัติสมเด็จพระบรมราชชนกและหอเกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์การเรียนรู้มหิดล ศาลายา ดร.ชลธิศ ธีระฐิติ ผู้อำนวยการบริหารสำนักงานมหาวิทยาลัยเครือข่ายอาเซียน (ASEAN University Network: AUN) กล่าวว่า เครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ASEAN University Network หรือ AUN เป็นความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาระหว่างประเทศสมาชิกในอาเซียน จำนวน ๓๐ สถาบันใน ๑๐ ประเทศ เพื่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ให้ได้รับการศึกษา การอบรม มีสุขภาพสมบูรณ์และมีฐานะที่มั่นคง ผ่านกลไกความร่วมมือระหว่างสถาบันอุดมศึกษาในการดำเนินงานด้านต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เครือข่ายเฉพาะทางของมหาวิทยาลัยอาเซียน ซึ่งในปัจจุบันมีการดำเนินงานภายใต้เครือข่าย ๑๖ เครือข่าย โดยที่ประชุมเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียนจะมีการพิจารณามหาวิทยาลัยสมาชิกที่มีความพร้อมและความเชี่ยวชาญมาทำหน้าที่เลขานุการของเครือข่ายนั้นๆ ซึ่งได้มีการมอบหมายให้มหาวิทยาลัยมหิดลทำหน้าที่เป็นเลขานุการของเครือข่ายเฉพาะทางด้าน AUN Human Rights Education Network (AUN-HREN) และ AUN-Health Promotion Network (AUN-HPN) ด้วยศักยภาพและความพร้อมของนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญในด้านดังกล่าว จึงมั่นใจได้ว่า มหาวิทยาลัยมหิดล จะสามารถขับเคลื่อนและเป็นผู้นำสร้างศักยภาพให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายต่อไปได้เป็นอย่างดี ด้วยความมุ่งมั่นของมหาวิทยาลัยมหิดลที่จะเป็นแกนนำเครือข่ายในการเสริมสร้างความสามารถของมหาวิทยาลัยสมาชิกเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพ มีการบูรณาการงานส่งเสริมสุขภาพในทุกมิติ ครอบคลุมถึงหลักสูตรการเรียนการสอนและการบริหารงานในสถาบันการศึกษา ตามกรอบแนวคิดที่ได้มีการรวบรวมข้อมูลมาเป็นแนวทางปฏิบัติ สร้างเกณฑ์มาตรฐาน และกำหนดแนวทางการประเมินผลที่บ่งชี้ถึงระดับความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยเครือข่ายในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพมากน้อยเพียงใด ซึ่งจะเป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยสมาชิกเล็งเห็นถึงความสำคัญในการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพ อันจะนำไปสู่ความต่อเนื่องในการขับเคลื่อนมหาวิทยาลัยสร้างเสริมสุขภาพในมหาวิทยาลัยภูมิภาคอาเซียนอย่างยั่งยืน ศาสตราจารย์ นายแพทย์บรรจง มไหสวริยะ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นว่า งานสร้างเสริมสุขภาพของเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน (AUN-HPN) เป็นงานที่สำคัญอย่างยิ่งของมหาวิทยาลัยและภาคีต่างๆ ในการร่วมมือส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของโรคเรื้อรังต่างๆ ด้วยการกระตุ้นและสร้างความตระหนักถึงบทบาทของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมสุขภาพของบุคลากรและนักศึกษา รวมถึงชุมชนใกล้เคียง โดยในปี ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญจากมหาวิทยาลัยในเครือข่ายได้จัดทำ “กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework” เพื่อกำหนดเป็นทิศทางและมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ ๒๒ ประการ ซึ่งจะช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในด้านต่างๆ ลดค่าใช้จ่ายด้านสาธารณสุข ลดการเกิดโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตของประชาชนกว่าร้อยละ ๗๐ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล เล็งเห็นถึงความสำคัญเรื่องนี้มาโดยตลอดและได้กำหนดเป็นนโยบายระดับมหาวิทยาลัยที่กำหนดให้ทุกคณะและสถาบันภายในมหาวิทยาลัย ดำเนินการตามกรอบของ Healthy University Framework ซึ่งนอกจากจะทำให้คณาจารย์ นักศึกษา และบุคลากรอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะแล้ว ยังมีการสนับสนุนให้มีพฤติกรรมที่นำไปสู่การมีสุขภาพที่ดีเป็นแบบอย่างแก่สังคมทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ในขณะเดียวกันยังได้จัดกิจกรรมเสริมสร้างศักยภาพแก่มหาวิทยาลัยสมาชิกทั้ง ๓๐ แห่งในภูมิภาคอาเซียน อาทิ การจัดประชุมวิชาการเรื่องการวิจัยด้านส่งเสริมสุขภาพ การสร้างผู้นำในงานส่งเสริมสุขภาพ และในวันนี้เครือข่าย AUN-HPN ได้มีการประชุมวิชาการด้านการควบคุมกำกับและประเมินผลงานสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัย โดยมีผู้บริหารและนักวิชาการจากมหาวิทยาลัยสมาชิกจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาคอาเซียนเข้าร่วมประชุมด้วยเช่นกัน และอีกก้าวที่สำคัญในฐานะเลขานุการเครือข่าย AUN HPN คือ การจัดทำระบบติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ โดยในปัจจุบันเครือข่าย AUN-HPN กำลังพัฒนาระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University หรือ ARHU เพื่อเป็นเครื่องมือในการช่วยติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยต่างๆตามกรอบแนวคิด ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นข้อมูลย้อนกลับเพื่อพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในระดับมหาวิทยาลัยต่อไปในอนาคต ดร. ณัฐพันธุ์ ศุภกา รักษาการผู้อำนวยการสำนักภาคีสัมพันธ์และวิเทศสัมพันธ์ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ กล่าวว่า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ได้ทำหน้าที่ส่งเสริมบทบาทมหาวิทยาลัยและสถาบันการศึกษาให้ขับเคลื่อนการสร้างเสริมสุขภาพ ในเชิงกลไก บทบาท การพัฒนาศักยภาพ ผ่านการสนับสนุน โครงการ สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยในเครือข่าย AUN-HPN มหาวิทยาลัยมหิดล เพื่อขับเคลื่อนและขยายงานสร้างเสริมสุขภาพในประเทศไทยและในภูมิภาคภูมิภาคอาเซียน โดยที่ผ่านมาได้มีข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสสส.และมหาวิทยาลัยเพื่อสนับสนุน AUN-HPN มาตั้งแต่ปี ๒๕๕๙ จนถึงปัจจุบัน โดยภายใต้ความร่วมมือดังกล่าว มหาวิทยาลัยมหิดลได้ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่อง อาทิ กรอบมหาวิทยาลัยสุขภาพ หรือ Healthy University Framework ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติให้มหาวิทยาลัยต่างๆพัฒนาไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยสุขภาพได้ โดยอาศัยมาตรการในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ๒๒ ประการ พัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยอย่างต่อเนื่อง เช่น การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาผู้นำด้านสร้างเสริมสุขภาพ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวิธีการวิจัยด้านสร้างเสริมสุขภาพ และที่จัดขึ้นใน 2 วันนี้ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อติดตามและประเมินผลการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพ เกิดความร่วมมือเพื่อพัฒนาโครงการวิจัย ด้านสร้างเสริมสุขภาพระหว่างมหาวิทยาลัยสมาชิกเครือข่ายในหลายประเด็น เช่น กิจกรรมทางกาย สุขภาพจิต บุหรี่ แอลกอฮอลล์ เป็นต้น ขยายเครือข่ายและแนวคิดในการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพไปยังมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วภูมิภาคในประเทศ ผ่านมหาวิทยาลัยแกนนำทั้ง 5 มหาวิทยาลัยในประเทศไทย ได้แก่ มหาวิทยาลัยมหิดล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ณ ปัจจุบัน เครือข่ายฯมีสมาชิกสบทบเพิ่มขึ้นอีก 4 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ นอกจากนี้ ยังมีมหาวิทยาลัยที่ให้ความสนใจในเครือข่ายและแนวคิดการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสุขภาพจำนวนมาก จากความสำเร็จในโครงการดังกล่าว เราจึงต่อยอดความร่วมมือในการส่งเสริมมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนให้พัฒนาไปสู่มหาวิทยาลัยแห่งสุขภาพ โดยมีการลงนามขยายความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล ในบทบาทของสำนักเลขาธิการเครือข่าย AUN-HPN กับ สสส. ในการเดินหน้านำ Healthy University Framework ไปใช้ พร้อมมีการประเมินผลการดำเนินงานด้านการสร้างเสริมสุขภาพของมหาวิทยาลัยต่างๆ โดยระบบติดตามและประเมินผลที่เรียกว่า ASEAN Rating on Health University และมุ่งมั่นที่จะขยายเครือข่ายและแนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพไปสู่มหาวิทยาลัยต่างๆต่อไปอย่างต่อเนื่อง เพื่อขับเคลื่อนงานสร้างเสริมสุขภาพ มุ่งสู่การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง นำไปสู่การมีสุขภาพดีของประชาชนต่อไป
มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก