ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี…
เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนพัชรกิติยาภาเพื่อการศึกษากฎหมายมหาวิทยาลัยคอร์แนลNEXT Next post: DPU X– ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เตรียมเปิดผลวิจัยเกี่ยวข้อง Future Workforce ผ่าน Timeline รับมือเทคโนโลยีดิจิตอลยุคดิสรัปชั่นให้อยู่รอดอย่างเข้มแข็ง
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
EZ Webmaster July 12, 2019 EZ Webmaster July 12, 2019 ส่องบทบาทมหาอำนาจ ‘จีน-ญี่ปุ่น’ บนสมรภูมิลงทุน อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงสู่บริบท อนาคตประเทศไทย “Asia on the Rise?” หัวข้อสำคัญใน การประชุมวิชาการนานาชาติในระดับภาคพื้นเอเชีย-แปซิฟิค (AAS-in-ASIA) เมื่อ 1–3 กรกฎาคม 2562 ณ โรงแรมรอยัล ออคิด เชอราตัน กรุงเทพฯ จัดโดย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และสมาคมเอเชียศึกษา (Association for Asian Studies : AAS) งานนี้มีนักวิชาการชั้นนำร่วมกันเสนองานวิจัยและมุมมองต่อบทบาท 2 มหาอำนาจแห่งเอเชีย จีนและญี่ปุ่นบนเวที “บทบาทที่เพิ่มขึ้นของอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขงในเอเชียตะวันออกและภูมิภาคอาเซียน : ร่วมมือหรือแข่งขัน?” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ (Ryan Hartley) แห่งมหาวิทยาลัยโทโฮกุ ประเทศญี่ปุ่น มองบทบาทของรัฐบาลญี่ปุ่นในการเข้าไปลงทุนด้านโครงสร้างพื้นฐานใน ‘เมียนมา’ มานานหลายทศวรรษ โดยเฉพาะรูปของเงินทุนความช่วยเหลือเพื่อการพัฒนา (Official Development Assistance : ODA) “ญี่ปุ่นมุ่งมั่นแข็งขันที่จะปฏิรูปเมียนมาโดยให้เงินช่วยเหลือ เข้าไปลงทุน แม้กระทั่งช่วยกำหนดนโยบาย เพราะเมียนมาคือโอกาสใหม่ที่สำคัญที่สุดในอาเซียน” ศ.ไรอัน ฮาร์ทเลย์ ระบุ นับตั้งแต่ปี 2554 ปีแรกของการปฏิรูปการเมืองในเมียนมา ญี่ปุ่นได้เพิ่มเงินช่วยเหลือและยกหนี้เงินกู้ให้ มีการส่งผู้เชี่ยวชาญให้คำปรึกษาเชิงนโยบายและสร้างเครือข่ายข้ามองค์กรในหลายระดับ ตลอดจนนำเงินเข้ามาลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนาเขตอุตสาหกรรม ที่เห็นชัดคือ เขตเศรษฐกิจพิเศษติลาวา (Thilawa) ซึ่งญี่ปุ่นหวังจะให้เป็นประตูเชื่อมโยงสู่มหาสมุทรอินเดีย ถือเป็นกิจการชิ้นแรกที่เห็นผลสำเร็จอย่างเด่นชัดที่สุด ความช่วยเหลือและการลงทุนทางตรง (FDI) จากญี่ปุ่น จะหลั่งไหลเข้าสู่เมียนมาต่อไปตราบใดที่เชื่อกันว่าเมียนมา เอาจริงเอาจังในการปฏิรูปประเทศเพื่อพัฒนาไปสู่ความเป็นประชาธิปไตยและเสรีนิยม กระนั้นในปีหลังๆ ญี่ปุ่นพบว่าเมียนมาดำเนินการปฏิรูปไปอย่างเชื่องช้า รู้สึกไม่เป็นที่น่าพอใจ เม็ดเงินลงทุนจากญี่ปุ่นจึงหดตัวลดลง ศ.ไรอัน มองว่า ในทศวรรษนี้ญี่ปุ่นมีโจทย์ใหม่ที่ท้าทายก็คือการต้องแข่งขัน ตัดทอน อิทธิพลกับจีนที่กำลังขยายบทบาททางเศรษฐกิจและการเมืองอย่างรวดเร็วมายัง อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) และนี่คือโจทย์ที่นักวิชาการที่ร่วมเวทีเสวนาชวนให้หาคำตอบเช่นกัน “การผงาดขึ้นของจีน บั่นทอนความมั่นใจของญี่ปุ่น ส่งผลกระทบต่อบทบาทของตนเองในภูมิภาคนี้” มุมมองจาก Maki Okabe จากสถาบันเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้องค์การส่งเสริมการค้าต่างประเทศของญี่ปุ่น (JETRO) Maki Okabe เล่าว่า การผงาดขึ้นมาของจีนบั่นทอนความเชื่อมั่นของญี่ปุ่นในการรักษาสถานะผู้เล่นสำคัญในภูมิภาค คำถามคือญี่ปุ่นกำลังแข่งขันกับจีนอยู่หรือไม่ และหากใช่..ประเทศไทยจะวางตัวอย่างไรกับการแข่งขันดังกล่าว สถิติทางการค้าและการลงทุนของจีนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง ปรากฎว่า เติบโตอย่างต่อเนื่องในรอบหลายปี ปริมาณการค้าอยู่ในระดับแซงหน้าญี่ปุ่นไปแล้ว ขณะที่เม็ดเงินลงทุนเพิ่มสูงขึ้นอย่างน่ากลัว แม้แต่ประเทศไทยที่เคยเป็นฐานการผลิตของบริษัทญี่ปุ่นมายาวนาน ก็ได้แสดงความกระตือรือร้นดึงนักลงทุนจีนเข้ามาช่วยพัฒนา เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (EEC) โดยเธอใช้คำว่า….นี่เป็นยุทธศาสตร์ “เหยียบเรือสองแคม” ที่ไทยให้น้ำหนักต่อทั้งจีนและญี่ปุ่นในระดับที่เท่าเทียมกัน เห็นได้จากเดือนสิงหาคม 2561 รัฐบาลไทยเชิญนักลงทุนทั้งจากจีนและญี่ปุ่นเข้ามาดูงานและแสดงศักยภาพใน EEC Maki กล่าวอีกว่า ญี่ปุ่นดูเหมือนจะยอมรับความจริงว่าศักยภาพและอิทธิพลของจีนนั้นทรงพลังเกินกว่าที่ญี่ปุ่นจะไปต่อต้านหรือแข่งขัน จึงเป็นที่มาของการทบทวนยุทธศาสตร์ครั้งใหม่ของญี่ปุ่น มุ่งแสวงหาความร่วมมือกับจีนแทนที่จะแข่งขัน เราจึงเห็นโครงการความร่วมมือใหม่ภายใต้ชื่อ China and Japan’s Business Cooperation in Third Countries ที่เริ่มขับเคลื่อนที่ EEC เป็นแห่งแรกและมีแนวโน้มจะขยายผลไปยังโครงการอื่นๆ ในภูมิภาคต่อไป อาจารย์นรุตม์ เจริญศรี อาจารย์ประจำภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระบุว่า การแข่งขันระหว่างจีนกับญี่ปุ่นจะยังไม่หมดไปตราบใดที่ภูมิภาคนี้ยังมีผลประโยชน์อันอุดมสมบูรณ์ให้แก่ทั้งสองประเทศ โดยการช่วงชิงการพัฒนาท่าเรือน้ำลึก คือพื้นที่แห่งการแข่งขันที่เห็นได้ชัด ญี่ปุ่นมีโอกาสใช้ประโยชน์จากท่าเรือดานังของเวียดนามและท่าเรือในเขต EEC ของไทยได้มากกว่า ทำให้จีนต้องมองหาแหล่งพัฒนาแห่งใหม่ และกัมพูชาคือตัวแปรสำคัญที่จีนต้องการเข้ามามีส่วนร่วมพัฒนาท่าเรือ โดยเฉพาะในพื้นที่เมืองสีหนุวิลล์ ซึ่งจีนหวังจะขยายภาคการผลิตและส่งออก “ถ้าจีนมี Belt and Road ญี่ปุ่นก็มี Free and Open Indo-Pacific Initiative” อาจารย์นรุตม์ มองว่าการแข่งขันยังดำเนินไปอย่างเข้มข้นในเขตตะวันตกของเมียนมาติดกับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งทั้งสองประเทศต่างกำลังลงทุนพัฒนาท่าเรือและนิคมอุตสาหกรรมริมชายฝั่งอย่างแข็งขัน เพื่อสร้างความเชื่อมโยง (connectivity) ไปสู่เอเชียใต้ต่อไป ศ.เดวิด เบลค จากมหาวิทยาลัยยอร์ค ประเทศอังกฤษ นำเสนอข้อมูลซึ่งสอดคล้องกับมุมมองของอาจารย์ นรุตม์ในแง่ของการแข่งขันสร้างอิทธิพลด้วยการให้เงินอุดหนุนและลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน โดยพื้นที่การแข่งขันที่สำคัญคือ “เขื่อน” และโครงการพัฒนาทรัพยากรน้ำในประเทศลาว ได้รับเงินช่วยเหลือจากทั้งจีนและญี่ปุ่นในจำนวนที่มาก “ญี่ปุ่นเป็นผู้ให้เงินและส่งผู้เชี่ยวชาญมาพัฒนาภาคส่วนพลังงานน้ำของลาวมายาวนาน ก่อนจะชะลอตัวลงไปเมื่อไม่นานมานี้ หลังการเข้ามาของเงินทุนและความช่วยเหลือจากจีน ที่เพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด” ในภาพรวม การเติบโตของเศรษฐกิจ ความเปลี่ยนแปลงทางการเมือง และนโยบายเปิดเสรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง เชื่อมโยงกับระบบเศรษฐกิจโลกเพิ่มมากขึ้น ปัจจัยเร่งเร้าให้สองขั้วมหาอำนาจอย่างจีนและญี่ปุ่น ต้องปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์ให้สอดรับกับบริบทความเป็นจริงอยู่ตลอดเวลา เห็นได้จากวิสัยทัศน์ที่จีนขับเคลื่อนนโยบาย หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง อย่างต่อเนื่อง ญี่ปุ่นได้ประกาศ Free and Open Indo-Pacific Initiative หวังจะทัดทานการขยายตัวของพญามังกรในภูมิภาค ไม่ว่าจีนหรือญี่ปุ่นจะเป็น ‘หัวขบวน’ ในการพัฒนา ประเทศไทยยังสามารถแสวงหาผลประโยชน์จากนโยบายนี้ได้ในทุกทาง เห็นได้จากการพัฒนา EEC ก็มีทั้งจีนและญี่ปุ่นมาแสดงบทบาทการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย และการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง ซึ่งเปิดโอกาสให้ทั้งสองชาติเข้ามามีบทบาท…จึงอาจกล่าวได้ว่า ณ จุดนี้ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยยังคงเป็นศูนย์กลางและประตูสู่อนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขงได้อย่างมีนัยสำคัญต่อไป
DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ
เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน”