มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก tui sakrapeeNovember 5, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เปิดรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ประจำปีการศึกษา 2568 สมัครด้วยวิธีออนไลน์ ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. – 20 ธ.ค. 67 ระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรง 1 (วุฒิ ปวช./ปวส.) ประเภทหลักสูตรภาคสมทบ… โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผู้บริหารสวนสุนันทาร่วมบันทึกรายการถวายพระพร เนื่องในโอกาสมหามงคลสมัยวันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถNEXT Next post: กว่า100ทุน!รัฐบาลไทยเตรียมมอบให้นักเรียนม.ปลายเรียนต่อต่างประเทศ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster August 1, 2019 EZ Webmaster August 1, 2019 มหิดล ร่วมกับ ราชบัณฑิตยสภา เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุ” ยกระดับการรักษาสู่ระดับพันธุวิศวกรรมตั้งเป้ารักษาโรคยาก กรุงเทพฯ 1 สิงหาคม 2562 – มหาวิทยาลัยมหิดล เตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) เวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพด้วยการรักษาผ่านการอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรค เพื่อนำร่องรักษาโรคยาก อาทิ โรคมะเร็งบางชนิด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยงานดังกล่าวกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัย มหิดล กล่าวว่า มหาวิทยาลัยมหิดล ในฐานะที่เป็นสถาบันการศึกษาชั้นนำของประเทศมีความเข้มแข็งและความโดดเด่นด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีเป็นที่ยอมรับทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ได้รับมอบหมายจากราชบัณฑิตยสภาให้เป็นเจ้าภาพหลักในการจัดการประชุมวิชาการ“เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งจะเป็นเวทีของนักวิชาการจากทั่วประเทศได้แลกเปลี่ยนความรู้ ความเชี่ยวชาญ ความก้าวหน้าและนวัตกรรมด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและสาขาที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นกลไกสำคัญที่จะพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการสาธารณสุขและการดูแลสุขภาพประชาชน โดยใช้วิชาการที่มีฐานการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น สำหรับการประชุม “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” มีหัวข้อและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ อาทิ 1. Precision Medicine: Current Situation in Thailand โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์มานพ พิทักษ์ภากร มหาวิทยาลัยมหิดล 2. Artificial Intelligence, the Enabler of Precision Medicine โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยศชนัน วงศ์สวัสดิ์ มหาวิทยาลัยมหิดล และศาสตราจารย์ ดร. นพ.สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ 3. ความสำคัญของการแพทย์แม่นยำต่อสาธารณสุข โดย ศาสตราจารย์ ดร.ยงยุทธ ยุทธวงศ์ ราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 4. Realizing the Potential of Precision Medicine: Opportunities, Needs, Challenges and Solution Strategies โดย ศาสตราจารย์ นพ.ประสิทธิ์ ผลิตผลการพิมพ์ รักษาการรองผู้อำนวยการ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ นอกจากนี้ ยังมีประเด็นที่น่าสนใจ อาทิ การรักษาโรคธาลัสซีเมียหายขาดโดยใช้หลักการ Precision Medicine การรักษาอาการแพ้ยา การปรับปริมาณยาก่อนการให้ยา โดยวินิจฉัยจากระดับยีนเฉพาะรายบุคคล เป็นต้น อย่างไรก็ตามในการประชุมดังกล่าวยังมีภาคการศึกษาเข้าร่วมอีกจำนวนมาก อาทิ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในครั้งนี้ จะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพิ่มประสิทธิภาพของการรักษา การลดขั้นตอนความซ้ำซ้อน ช่วยให้ผู้ป่วยสามารถฟื้นตัวใช้ชีวิตปกติได้เร็วยิ่งขึ้น ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เข้มแข็ง ส่งเสริมให้เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี โดยกำหนดจัดขึ้นระหว่างวันที่ 6-8 สิงหาคม นี้ ณ โรงแรมพูลแมน คิง เพาเวอร์ กรุงเทพมหานคร ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา กล่าวว่า ตลอดทศวรรษที่ผ่านมา การแพทย์พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก้าวหน้าถึงระดับยีน หรือโมเลกุล เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine เป็นตัวอย่างหนึ่ง ที่แสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าด้านนี้ ไม่ว่าจะเป็นการรักษาโรค ด้วยยา การบริหารยาโดยอิงตามพันธุกรรมของผู้ป่วย หรือการใช้เทคนิคทางพันธุวิศวกรรมหรือชีวโมเลกุลในการรักษาโรคที่ยาก เช่น โรคมะเร็งบางชนิด จึงได้จัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง มหาวิทยาลัยมหิดล กับ สำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา กล่าวว่า “เวชกรรมตรงเหตุ หรือ Precision Medicine” เป็นศาสตร์ใหม่ที่เติบโตอย่างรวดเร็วและได้รับการพิสูจน์แล้วว่าสามารถป้องกันหรือรักษาโรคยาก ๆ หลายโรคอย่างได้ผล ไม่ว่าจะเป็นโรคมะเร็งบางชนิด โรคพันธุกรรม เช่น โรคธาลัสซีเมีย ซึ่งมีผู้เริ่มนำมาใช้รักษาโรคในประเทศไทยบ้างแล้ว ในต่างประเทศมีพัฒนาการอย่างก้าวกระโดดนำไปสู่การรักษาโรคที่มีความท้าทายมาก เช่น การติดเชื้อ HIV หรือโรคเอดส์ หรือการปลูกถ่ายอวัยวะ โดยใช้อวัยวะของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยไม่ต้องรอผู้บริจาค ซึ่งในการประชุมนี้จะเป็นการรวบรวมผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในด้านนี้ของประเทศไทย ซึ่งแสดงถึงศักยภาพที่แท้จริงของศาสตร์แขนงนี้ การให้ความรู้แก่ประชาชนในลักษณะคุ้มครองผู้บริโภค หรือเพิ่มความรอบรู้ทางสุขภาพ (health literacy) เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของผู้ไม่หวังดี ที่สื่อสารเกินจริงจนอาจทำให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจผิดจนละเลยการรักษาตามขั้นตอน หรือเสียทรัพย์ ในการรักษาที่ไม่มีประสิทธิภาพจริงตามที่อ้าง เป็นต้น ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กล่าวว่า สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เป็นหน่วยงานหลักในการให้ทุนสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ ทั้งด้านการพัฒนาเศรษฐกิจ การส่งเสริมอุตสาหกรรมเป้าหมาย การพัฒนาสุขภาพ สังคม และสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาเชิงพื้นที่ โดยจัดสรรทุนวิจัยตามยุทธศาสตร์ชาติและแผนแม่บทวิจัย และพัฒนานวัตกรรม ซึ่งในการบริหารจัดการเพื่อให้ได้มาซึ่งโครงการที่สนับสนุนการดำเนินงานในประเด็นสำคัญต่างๆ ของประเทศ โดยโครงการวิจัย การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer) เป็นโครงการที่เริ่มดำเนินการในปี พ.ศ.2559 มีมหาวิทยาลัยมหิดลเป็นมหาวิทยาลัยหลักในการดำเนินการซึ่งขณะนี้อยู่ระหว่างการวิจัยในปีที่ 3 โครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” มีแนวคิดจากปัจจัยทางพันธุกรรมมีผลต่อการเกิดโรค และการดำเนินโรคเรื้อรังต่างๆ ทุกชนิด รวมถึงผลการตอบสนองต่อการรักษาและผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ซึ่งในปัจจุบันความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางพันธุศาสตร์ ทำให้เกิดการพัฒนาวิธีการตรวจลำดับจีโนมที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ลดลง โดยตัวอย่างในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางพันธุศาสตร์กับโรคเรื้อรังที่เห็นผลชัดเจนที่สุด คือในกลุ่มโรคมะเร็ง ซึ่งเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่งของคนไทย การพัฒนาแนวทางการรักษาจากเดิม มาเป็น Precision medicine จึงเป็นแนวคิดใหม่ที่เลือกการรักษาที่ตรงจุดและเหมาะสมที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละราย โดยอาศัยข้อมูลจากการตรวจพันธุกรรมของผู้ป่วยรายนั้นๆ ทำให้เข้าใจกลไกที่ซับซ้อนของโรค ซึ่งจากผลงานใน 2 ปีที่ผ่านมาพบว่าฐานข้อมูลของยีนหรือลักษณะความผิดปกติระดับโมเลกุลของมะเร็งของคนไทย ได้แก่ มะเร็งเต้านมชนิด triple negative มะเร็งศีรษะและลำคอ และมะเร็งสมอง อาจมีความแตกต่างจากผู้ป่วยต่างประเทศ ซึ่งส่งผลให้สามารถวินิจฉัยและพยากรณ์โรคได้ถูกต้องมากขึ้นและสามารถเปิดให้บริการกับผู้ป่วยมะเร็งทางคลินิกได้จริง ซึ่งหากโครงการวิจัย “การแพทย์แม่นยำในโรคมะเร็ง (Precision Medicine in Cancer)” ดำเนินการสำเร็จ จะนำไปสู่วิธีการรักษาโรคมะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพทั้งพัฒนาวิธีการตรวจและเลือกการรักษาสำหรับผู้ป่วยที่เหมาะสมที่สุดสำหรับคนไทยต่อไป ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้จัดงานแถลงข่าวการเตรียมจัดประชุมวิชาการ “เวชกรรมตรงเหตุในประเทศไทยยุค 4.0” (Precision Medicine in Thailand 4.0) โดยมี ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุรพล อิสรไกรศีล นายกราชบัณฑิตยสภา ศาสตราจารย์ ดร.นสพ.ณรงค์ศักดิ์ ชัยบุตร ประธานสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตสภา ศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ และศาสตราจารย์ นายแพทย์วชิร คชการ รักษาการแทนรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล เมื่อเร็วๆนี้ ณ ห้องประชุมเทพรัตนทันตกิจสโมสร คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล (ถนนโยธี) กรุงเทพฯ
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่