มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก tui sakrapeeNovember 5, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เปิดรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ประจำปีการศึกษา 2568 สมัครด้วยวิธีออนไลน์ ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. – 20 ธ.ค. 67 ระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรง 1 (วุฒิ ปวช./ปวส.) ประเภทหลักสูตรภาคสมทบ… โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ EZ Webmaster Related Posts โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: ราชกิจจานุเบกษา ประกาศกฎกระทรวงกำหนดความประพฤติของนักเรียนและนักศึกษาNEXT Next post: “เทคนิคบางแสน สร้างสะพานเชื่อมโยง สอศ.และ สพฐ.”
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster September 2, 2019 EZ Webmaster September 2, 2019 “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ “ตัวต่อ”สมาชิกทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จุดประกายชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) นายธรรมฤทธิ์ ศิวาลัย ชื่อเล่น “ตัวต่อ” นักคึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) ผู้มีความสามารถทำงานในตำแหน่ง Mechanical & Development จากทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig (ไอราฟ เซคซิก) ผลงานล่าสุด คว้ารองแชมป์โลกหุ่นยนต์กู้ภัยได้อย่างสมศักดิ์ศรี เป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันหุ่นยนต์ จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ประจำปี พ.ศ. 2562 (World RoboCup Rescue 2019) เมื่อเดือนกรกฎาคม 2562 ณ เมืองซิดนีย์ ประเทศออสเตรเลีย “ตัวต่อ” บอกว่าเป็นผลงานที่น่าปลื้มใจมากที่หุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig ของ มจพ. สร้างชื่อบนเวทีโลกในนามตัวแทนของประเทศไทย อีกครั้ง คว้า 2 รางวัลยิ่งใหญ่ คือรางวัลรองแชมป์โลกอันดับ 1 และรางวัลชนะเลิศ (Best in Class Mobility) นวัตกรรมสมรรถนะการขับเคลื่อนหุ่นยนต์ยอดเยี่ยม จากการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลก ซึ่งมีทั้งความเร็ว ความแรง และความแข็งแกร่ง สามารถฟันฝ่าอุปสรรคได้ดี แรงบันดาลใจที่ผมชอบและรักหุ่นยนต์เกิดจากความสนใจที่ชอบชมภาพยนตร์แนวหุ่นยนต์ทำให้เกิดจุดประกายที่อยากจะสร้างหุ่นยนต์ในชีวิตจริงบ้าง โดยเฉพาะชอบหุ่นยนต์จากภาพยนตร์ เรื่อง ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) เป็นภาพยนตร์แนววิทยาศาสตร์ โลดโผน ผมเป็นแฟนพันธุ์แท้ทุกตอน เพราะบางครั้งการเกิดไอเดียดีๆ มันก็มาจากรอบๆ ตัวเรา ซึ่งตัวเราก็เด็กวิศวะน่าจะสามารถร่วมทีมและพัฒนางานหุ่นยนต์ให้ มจพ. ได้ ผมเชื่อแบบนั้นนะครับ “ตัวต่อ” เกิดที่กรุงเทพฯ จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) จากโรงเรียนไตรมิตรวิทยาลัย เป็นโรงเรียนชายล้วนที่เปิดสอนเฉพาะนักเรียนชายในย่านเยาวราช จากนั้นได้สอบเข้า รร. เตรียมวิศวะที่ มจพ. ในสาขาเตรียมวิศวกรรมเครื่องกล โรงเรียนเตรียมวิศวกรรมศาสตร์ ไทย-เยอรมัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ “รหัส 56 ที่แท้ก็เป็นลูกหม้อเตรียมวิศวะของ มจพ.” ของเราเอง ดูเป็นคนมีอัธยาศัยไมตรีที่ดี มีความเข้มแข็ง ร่าเริง แจ่มใส ทำอะไรแล้วก็ตั้งใจไปสู่ความสำเร็จ จริงจัง มองคนรอบข้างและแคร์ทีมเป็นที่สุด บางเวลาเพื่อนๆ บอกว่าตลกแต่เป็นตลกแป๊กๆ ขำไม่ออกซะงั้น ประสบการณ์ในสนามการแข่งขันหุ่นยนต์ครั้งแรกของผม คือการแข่งขันหุ่นยนต์ ส.ส.ท ชิงถ้วยพระราชทานประจำปี 2561 เป็นก้าวแรกจริงๆ ที่จะได้ใช้ความรู้ที่เรียนมา มาช่วยทีม ช่วยแชร์ไอเดียร่วมกัน สำหรับผมก็อาจจะไม่ได้ตื่นเต้นมากเท่าไหร่ เพราะผมก็เป็นสมาชิกชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เข้ามาเรียนรู้และคลุกคลีอยู่กับรุ่นพี่ โดยผมให้ความสนใจด้านแมคคาทรอนิกส์ ( Mechatronics) เป็นพิเศษอยู่แล้ว เป็นกระบวนการออกแบบที่ต้องอาศัยด้านเทคนิคต่างๆ เพื่อบูรณาการเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบและสร้างหุ่นยนต์ซึ่งล้วนแต่ต้องสร้างกลไกที่สามารถทำงานด้วยตัวเองโดยอัตโนมัติ ตามความต้องการที่กำหนดไว้ได้อย่างรวดเร็ว ถูกต้องและแม่นยำ ตัวอย่างของระบบที่มีซึ่งระบบแมคคาทรอนิกส์เป็นส่วนประกอบ เช่น หุ่นยนต์อุตสาหกรรม หุ่นยนต์กู้ภัย และอาคารอัจฉริยะ เป็นต้น ผมคิดว่ามันเสริมสร้างประสบการณ์ที่ดีแก่ตัวเรา สำหรับตำแหน่งในทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig จะดูแล Mechanical & Development ตามที่ได้รับมอบหมายที่เริ่มจากการแสวงหาข้อมูล ศึกษาเทคโนโลยีใหม่ๆ ในการสร้างหุ่นยนต์ รวมถึงคลิปวิดีโอหุ่นยนต์จากต่างประเทศ การตรวจสอบชิ้นงาน ดูคุณภาพของงาน การแก้ไขปัญหา ซึ่งในห้องเรียนไม่มีสอน เพราะการได้ลงมือทำมันคือการทำจริงๆ เหตุการณ์จริง ฉะนั้นเราต้องมีวิธีคิด มีขั้นตอนที่ชัดเจน มองปัญหาให้ออก เพื่อนำเสนอทีมให้สามารถนำมาประยุกต์ใช้โดยปรึกษาหารือร่วมกันโดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำ ซึ่งผมมองว่า “การดีไซน์หุ่นยนต์ในแต่ละครั้งขึ้นอยู่กับองค์ประกอบของวัตถุประสงค์ การนำไปใช้งาน รวมถึงด้านเทคนิค ซึ่งเกี่ยวข้องกับการสร้างหุ่นยนต์”เช่นการเคลื่อนที่ได้ ความเป็นอิสระ (autonomy) ตลอดจนกลไกการเคลื่อนที่ นอกจากนี้แล้วหุ่นยนต์ยังจะต้องมีการประมวลผลที่ชาญฉลาด และที่สำคัญคือ กติกาการแข่งขันซึ่งเป็นโจทย์ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินแต่ละครั้งเป็นอย่างไร ส่วนหน้าที่ชุดสายพาน และ Maintenance ชิ้นส่วนกลไกต่างๆ ของหุ่นยนต์ เช่น โครงสร้าง เพลา เฟือง สกรูส่งกำลัง สายพาน โซ่ สปริง รวมถึงทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยการการกลึงร่วมกับการออกแบบโครงสร้างของหุ่นยนต์ต้องมีความแข็งแรงมาก ซึ่งต้องมีการทดสอบทำงาน ความเที่ยงตรง ในการตรวจสอบว่าความแม่นยำของหุ่นยนต์ การที่ได้ลงมือทำด้าน Mechanical & Development สามารถบ่งบอกได้ว่าเรา “ได้นำความรู้ความสามารถและได้นำเทคนิคมาบูรณาการเชิงวิศวะได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนนำมาปรับใช้ในการสร้างหุ่นยนต์ ซึ่งเป็นการลงมือปฏิบัติที่คุ้มค่า เป็นสิ่งที่ช่วยการทำงานเป็นทีม มองจุดมุ่งหมายและแก้ปัญหาร่วมกัน” มจพ. แห่งนี้มีกิจกรรมที่หลากหลายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมหาประสบการณ์และความถนัดนอกห้องเรียน ที่ได้ให้ประสบการณ์ใหม่ๆ มาก คือเรื่องราวที่สร้างสรรค์ผลงาน ให้ได้รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ การเสาะแสวงหาไอเดียใหม่ๆ มาแชร์ พูดคุยในทีมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน การเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของทีมหุ่นยนต์กู้ภัย iRAP Sechzig นับว่ามีประโยชน์อย่างรอบด้าน ทำให้เราคิดอย่างเป็นระบบ มีมุมมองที่หลากหลาย การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าที่สามารถเผชิญได้ตลอดเวลาเมื่อเราลงสู่สนามการแข่งขัน กิจกรรมแต่ละประเภทจะสร้างให้เข็มแข็ง มีความอดทน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้าได้ ฝึกฝนให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นการทำงานเป็นทีมได้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนการประเมินสถานการณ์จากคู่แข่งขันในเวทีการแข่งขัน มองศักยภาพทีมเรา – ทีมเขา ในการปรับปรุงแก้ไขพัฒนาที่ดีขึ้น “ตัวต่อ” บอกว่าเมื่อจบการศึกษาแล้ว ผมอยากทำงานสาย Maintenance ด้านวิศวกรซ่อมบำรุง ผมไม่เก่งวิชาการ แต่ผมชอบลงมือปฏิบัติมากกว่า ผมสามารถฝึกฝนให้เกิดความชำนาญได้ และงานด้านนี้ยังอยากเรียนรู้ของการวางแผนบำรุงรักษาทรัพยากรหรือการเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องจักรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้สูงสุด และอาจรวมถึงควบคุมอะไหล่เครื่องจักรและระบบไฟฟ้าที่ใช้สำหรับในงานซ่อมบำรุงในสภาพพร้อมใช้งาน ที่ตั้งใจมากๆ เป็นพิเศษคือเข้าไปทำงานกับฝ่ายบำรุงรักษาร่วมกับแรงงานสายการผลิต อาทิ การตรวจสอบและการบำรุงรักษาด้านกลไกต่างๆ รวมถึงการทำงานด้านวางแผนและปฏิบัติงานในการบำรุงรักษาและซ่อมบำรุง งานซ่อมบำรุงระบบเครื่องจักรประเภท automation Robot หรือระบบ Line conveyor สุดท้ายขอฝากข้อคิดถึงน้องที่อยากเข้ามาเรียนที่ มจพ. และชื่นชอบการสร้างหุ่นยนต์ ก็เชิญชวนน้องๆ มาสมัครเรียนได้เลย มีสาขาวิชามากมายให้เลือกตามความถนัดแต่ละคน หรือน้องๆ ที่เข้ามาเรียนขณะนี้แล้ว อยากจะมาร่วมสร้างประวัติศาสตร์หุ่นยนต์กู้ภัยระดับโลกร่วมกัน สามารถสอบถามได้ที่ชมรมหุ่นยนต์ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เช่นกัน พี่ๆ ทุกคนยินดีต้อนรับเข้าทีม และเราจะได้เรียนรู้ไปด้วยกัน “ถ้าไม่เสียสละ ชัยชนะก็ไม่เกิด” นี้เป็นคติประจำใจผมที่ได้เรียนรู้มาจากภาพยนตร์ทรานส์ฟอร์เมอร์ส (Transformers) มันคือแรงบันดาลใจที่ทำให้ผมชอบและรักหุ่นยนต์ ขวัญฤทัย ข่าว-ภาพ
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่