CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี… ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่… CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ EZ WebmasterDecember 19, 2024 พลาดไม่ได้แล้ว เตรียมตัวให้พร้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(มช) ยินดีต้อนรับทุก ๆ ท่านเข้าสู่กิจกรรมฉลองสุดยิ่งใหญ่ในรอบ 60 ปี CMU EDUCATION EXPO 2025: EDUCATION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT เพื่อเน้นไปที่การศึกษาและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นหลัก… มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… นักศึกษา ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่… CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ EZ WebmasterDecember 19, 2024 พลาดไม่ได้แล้ว เตรียมตัวให้พร้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(มช) ยินดีต้อนรับทุก ๆ ท่านเข้าสู่กิจกรรมฉลองสุดยิ่งใหญ่ในรอบ 60 ปี CMU EDUCATION EXPO 2025: EDUCATION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT เพื่อเน้นไปที่การศึกษาและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นหลัก… มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… นักศึกษา ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ EZ WebmasterDecember 19, 2024 พลาดไม่ได้แล้ว เตรียมตัวให้พร้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(มช) ยินดีต้อนรับทุก ๆ ท่านเข้าสู่กิจกรรมฉลองสุดยิ่งใหญ่ในรอบ 60 ปี CMU EDUCATION EXPO 2025: EDUCATION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT เพื่อเน้นไปที่การศึกษาและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นหลัก… มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา…
ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา…
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com EZ Webmaster Related Posts ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: มาดูคำถามที่ Google ใช้ในการหาผู้นำที่ยอดเยี่ยมภายใน 5 นาทีNEXT Next post: “ครูตั้น” ตั้งเป้าเพิ่มสัดส่วนสายอาชีพ 60 ต่อ 40 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search
คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่…
อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่…
EZ Webmaster December 20, 2019 EZ Webmaster December 20, 2019 ยุค ‘Talent War’ แย่งตัวนักเรียนหัวกะทิ มหา’ลัยระดับโลกชิงให้ทุนตัดหน้ารัฐไทย! เข้าสู่ยุค ‘Talent War’ สงครามแย่งชิงคนเก่ง เข้าเรียนในสถาบันการศึกษาทั่วโลก ‘ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์’ ชี้มหาวิทยาลัยระดับ World Class ชิงตัดหน้าให้ทุน ‘นักศึกษาไทย’ ระดับหัวกะทิที่รัฐบาลให้ทุนไปแล้ว แจงต้องเร่งปั้นมหาวิทยาลัยรัฐ ทั้งจุฬาฯ มหิดล ติดลำดับท็อป 100 ให้ได้ เพื่อให้เด็กไทยอยากเรียนในไทย และดึงชนชั้นนำ-เจ้าสัว ในต่างประเทศเข้ามาเรียนด้วย ขณะเดียวกันแบ่ง 3 กลุ่มสถาบัน เพื่อสู้กับทั่วโลก พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม พร้อมยกเครื่องราชภัฏ เป็นมหาวิทยาลัยกลุ่ม “เสาหลักของแผ่นดิน” ร่วมพัฒนาพื้นที่ให้สำเร็จ!ปรากฏการณ์ ‘Talent War’ หรือสงครามแย่งชิงคน กำลังเกิดขึ้นในสังคมโลก ซึ่งประเทศไทยก็ต้องวางแผนไว้รองรับว่าจะทำอย่างไรถึงจะดึงคนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้นี่คือโจทย์ใหญ่ที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ให้ความเห็นไว้และบอกด้วยว่าจะต้องรีบดำเนินการอย่างไรจึงจะสามารถบรรลุเป้าหมายตรงนี้ได้ เพราะนี่คือเหตุผลของการรวมสถาบันระดับอุดมศึกษาและตั้งเป็นกระทรวงใหม่คือกระทรวง ‘อว.’ ขึ้นมาเพื่อจะได้เป็นพลังขับเคลื่อนในการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อไปในอนาคต“โจทย์ผมเวลานี้ คือ จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยไทย ปรับตัวเข้าสู่ศตวรรษที่ 21 พร้อมกับคุณภาพที่ดี โดยจะยกระดับคุณภาพได้อย่างไร หากไม่มีคุณภาพ ทุกอย่างจบหมด” ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุวิทย์ บอกว่า เวลานี้สถาบันการศึกษามักจะพูดเสมอว่าจำนวนนักศึกษาน้อย ทำให้สถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชนต้องแบกภาระไว้มาก ซึ่งในความเป็นจริงในอนาคตมีแนวโน้มเด็กจะลดลงไปกว่านี้อีก ดังนั้นสถาบันการศึกษาทั้งรัฐและเอกชน ต้องหาวิธีการปรับตัว โดยเฉพาะจะต้องออกไปเจาะตลาดต่างประเทศ ด้วยการไปเปิด Campus ในต่างประเทศ เช่นเดียวกับที่ 2 มหาวิทยาลัยต่างชาติ ที่มาเปิดในไทย อย่าง มหาวิทยาลัยคาร์เนกี้ เมลลอน หรือ มหาวิทยาลัยไต้หวันที่มาเปิด Campus ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์นี่คือกระแสโลกาภิวัตน์ที่สถาบันการศึกษาของไทยต้องตามให้ทัน“เรียกว่าต้องมี In-out กับ Out-in ซึ่ง In-out หมายถึง มหาวิทยาลัยของไทยต้องออกไปตั้ง Campus ที่ประเทศต่างๆ เช่นที่มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ไปตั้งที่ประเทศพม่า และมีนักศึกษาพม่าสนใจเรียนจำนวนมาก ปัจจุบันมีการตั้งสมาคมศิษย์เก่าที่เข้มแข็ง ช่วยกันโปรโมตและดึงคนพม่ามาเรียนที่ Campus ที่นั่น ส่วน Out-in ที่กำลังเกิดขึ้นมากในเวลานี้ก็คือการที่มหาวิทยาลัยไปดึงนักศึกษาจีนเข้ามาเรียนในไทย”แต่สิ่งสำคัญที่สถาบันการศึกษาจะต้องดำเนินการไม่ใช่เพียงแค่การเจาะตลาดต่างประเทศ แต่จะต้องให้ความสำคัญกับเรื่องของการดึง Talent หรือนักศึกษาที่มีความสามารถพิเศษ นักศึกษาที่มีคุณภาพสูง ชนชั้นสูง เจ้าสัว เข้ามาเรียนในสถาบันฯ การศึกษานั้นๆ“การที่มหาวิทยาลัยไทยจะได้ Talent มาหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับคุณภาพของมหาวิทยาลัยนั้นๆ ด้วย ว่ามีอะไรน่าสนใจ ที่จะสามารถเป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาคุณภาพได้ด้วย”รัฐมนตรีว่าการกระทรวง อว. ระบุว่า การที่กระทรวง อว.มีเป้าหมายที่จะสร้างมหาวิทยาลัยของไทยให้เป็นมหาวิทยาลัยคุณภาพ เพื่อติดอันดับท็อป 100 ของโลกให้ได้ จึงได้ตั้งงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 สำหรับการพัฒนาด้านการศึกษา วิจัย และนวัตกรรม จำนวน 142,479 ล้านบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณฯ 2562 จำนวน 2,871 ล้านบาท“จุฬาฯ กับมหิดล อยู่ในระดับที่ 300 กว่าๆ ซึ่งผมตั้งใจพัฒนาเพื่อให้จุฬาฯ และมหิดล ขยับขั้นไปในระดับท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราทำได้มหาวิทยาลัยอื่นๆ ในไทย ก็จะขยับขึ้นมาได้ด้วย” จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล อย่างไรก็ดี สถาบันการจัดอันดับ Quacquarelli Symonds (QS) แห่งสหราชอาณาจักร ในปี 2019 ได้มีการเปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับล่าสุด พบว่าจุฬาฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 271 ครอบคลุมทั้งด้านคุณภาพของมหาวิทยาลัย คุณภาพบัณฑิต คุณภาพด้านการวิจัย เป็นต้น ส่วนมหาวิทยาลัยมหิดล อยู่ในลำดับที่ 380 และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อยู่ในช่วง 601-650 เป็นต้นดร.สุวิทย์ บอกว่าถ้ารัฐบาลสามารถพัฒนาให้มหาวิทยาลัยของไทยติดอันดับท็อป 100 ได้ก็จะมีนักศึกษาและนักวิจัยที่มีคุณภาพดีๆ ซึ่งจะทำให้เป็นแม่เหล็กดึงนักศึกษาจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในประเทศไทย แต่ถ้ามหาวิทยาลัยของไทยยังอยู่ในระดับต่ำๆ นักศึกษาไทยที่เรียนดีและมีโอกาสก็จะไม่เลือกเรียนที่ประเทศไทย“เด็กหัวกะทิในระดับ Top 5 ของนักศึกษาที่เรียนดีที่สุดของประเทศ พวกนี้จะเลือกไปเรียนต่างประเทศกันหมด เพราะดีกว่าเลือกเรียนที่จุฬาฯ หรือมหิดล เราจึงต้องเร่งพัฒนาให้จุฬาฯ หรือมหิดล ขึ้น Top 100 ของโลกให้ได้”หากรัฐสามารถพัฒนาได้ถึงขั้น Top 100 เด็กหัวกะทิก็จะเลือกเรียนเมืองไทยดีกว่าจะไปต่างประเทศ และจะทำให้นักศึกษาต่างประเทศเลือกที่จะเข้ามาเรียนเมืองไทยได้ง่ายเช่นกัน“อนาคตจะเป็น Talent War สงครามแย่งชิงคน เราต้องการให้คนเก่งของโลกมาอยู่กับเราให้ได้ แต่ถ้าเราทำไม่ได้ คนเก่งก็จะเลือกไปทำงานต่างประเทศกันหมด”ดร.สุวิทย์ บอกอีกว่า สถานการณ์ในขณะนี้ ทางกระทรวง อว.มีทุนให้นักศึกษาไปสอบเรียนต่อในมหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศ แต่ปรากฏว่ามหาวิทยาลัยลำดับดีๆ ในต่างประเทศกลับแย่งตัวนักศึกษาเหล่านี้ด้วยการให้ทุนเรียนไปเลย‘มหาวิทยาลัยระดับ World Class เหล่านี้ให้ทุนแย่งเด็กเราไปก่อน นี่คือรูปแบบสงครามที่เกิดขึ้นในอนาคต เป็นสงครามแย่งชิงทรัพยากรมนุษย์ที่มีค่า และนี่คือเหตุผลที่เราต้องแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม” การแบ่งมหาวิทยาลัยเป็น 3 กลุ่ม ประกอบด้วยกลุ่มที่ 1 มหาวิทยาลัยที่จะไปสู้กับโลก ประกอบด้วย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยขอนแก่น, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ฯลฯ มหาวิทยาลัยกลุ่มนี้ต้องดึงให้ขึ้นมาเป็นท็อป 100 ให้ได้ ถ้าเราก้าวไปไม่ได้ นักศึกษาเก่งๆ ก็จะไม่เลือกเรียนสถาบันเหล่านี้ ส่วนนักศึกษาที่ดีๆ มีคุณภาพของโลก ก็จะไม่มาเรียนในประเทศไทยกลุ่มที่ 2 มหาวิทยาลัยที่เน้นเทคโนโลยี นวัตกรรม จะประกอบด้วย 3 พระจอม คือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ซึ่งจะตอบโจทย์อุตสาหกรรมในอนาคตกลุ่มที่ 3 มหาวิทยาลัยพัฒนาพื้นที่ คือกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 38 แห่ง ที่จะเน้นเรื่องของการพัฒนาท้องถิ่น โดยในแผนจะให้ราชภัฏ 1 แห่งดูแล 2 จังหวัด และจะให้ไปทำวิจัยเชิงพื้นที่ เพราะในอนาคตการผลิตครูอาจจะ Over Supply ไปแล้ว “ราชภัฏต้องตอบโจทย์ให้ได้ว่า ครูในศตวรรษที่ 21 หน้าตาจะเป็นอย่างไร Demand กับ Supply ครู เป็นอย่างไร และคุณภาพครูที่ผลิต เป็นอย่างไร แต่ที่วางไว้ราชภัฏจะไม่ใช่ผลิตครูอย่างเดียว”นอกจากนี้ในหลักการแล้ว คนที่เรียนราชภัฏจะต้องอยู่กับพื้นที่ ไม่ต้องเข้ามาในกรุงเทพฯ และไม่ต้องเข้ามาอยู่ในเมืองใหญ่ แต่จะมีประเด็นที่ให้ราชภัฏดำเนินการได้ในพื้นที่ ทั้งเรื่องการท่องเที่ยว เรื่องโอทอป เรื่องสมาร์ทฟาร์มเมอร์ ซึ่งจะเป็นการกระจายรายได้ กระจายโอกาสให้สามารถดำรงชีพอยู่ในพื้นที่ได้ด้วย “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น” “เราจะต้องยกเครื่องมหาวิทยาลัยราชภัฏ เพราะราชภัฏต้องดูแลเด็กถึง 80% ซึ่งถ้าเด็กกลุ่มนี้คุณภาพไม่ดี ปัญหาจะตกอยู่กับประเทศไทย เพราะเด็ก 70% เป็นสายสังคมศาสตร์ อีก 30% เป็นสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องทำให้เด็กกลุ่มนี้มีพลัง ถึงมียุวชนสร้างชาติ ลงพัฒนาพื้นที่ ท้องถิ่น เอามหาวิทยาลัยไปติดอาวุธทางปัญหาท้องถิ่น”ขณะเดียวกันการจะยกเครื่องกลุ่มมหาวิทยาลัยราชภัฏนั้น กระทรวง อว. ได้มีการประสานกับMicrosoft ที่จะนำเรื่องของภาษาอังกฤษ กับเรื่องของดิจิทัล เพื่อยกระดับครูราชภัฏได้ระดับหนึ่งก่อน ที่เหลือก็เป็นเรื่องของการวิจัย เพื่อตอบโจทย์ในพื้นที่ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน“เราต้องติดอาวุธ หรือ เติมพลังให้ราชภัฏเพราะคนกลุ่มนี้คือเสาหลักของแผ่นดิน กระทรวง อว.จะต้องทำให้มหาวิทยาลัยราชภัฏแข็งแรงขึ้น พร้อมๆ กับพัฒนาให้มหาวิทยาลัยไทยก้าวสู่ท็อป 100 ให้สำเร็จ”อีกทั้งจะต้องปลุกพลังให้เกิดการร่วมมือกันระหว่างราชภัฏและราชมงคลในแต่ละจังหวัดให้ได้ เพราะราชมงคล จะได้เรื่องเทคโนโลยี ส่วนราชภัฏจะเน้นเรื่องการบริหาร เรื่องการท่องเที่ยว เพราะประเทศไทยมี 2 อย่างคือ ด้านการเกษตร และต้องสร้าง High Value Service ในด้านการท่องเที่ยวให้เกิดขึ้น รวมทั้งต้องไปจับมือกับกระทรวงวิทยาศาสตร์ ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อยกระดับ Smart Farmer ให้มีคุณภาพส่วนเรื่องของสถาบันการศึกษาเอกชนนั้น ทางรัฐบาลมิได้ทอดทิ้ง ก็ได้มีการประสานกับทางสมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย โดยสมาคมฯ ได้เสนอขอให้รัฐให้การสนับสนุน 2 เรื่อง คือในเรื่องของการเชื่อมโยงกับเอสเอ็มอี ซึ่งทาง อว.ก็ได้ประสานกับหอการค้าไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย รวมทั้งสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ไว้ให้แล้ว และอีกเรื่องมหาวิทยาลัยเอกชน ต้องการให้ช่วยเหลือในเรื่องของการเจาะตลาดนักศึกษาในต่างประเทศ ทั้งเรื่องการไปเปิด Campus และการดึงนักศึกษาต่างชาติเข้ามาเรียนในประเทศไทย เช่นนักศึกษากัมพูชา นักศึกษาลาว ซึ่งปัจจุบันมีการเปิด Campus ที่พม่าแล้วดังนั้นเป้าหมายนักศึกษาที่ ดร.สุวิทย์ ต้องการให้สถาบันการศึกษาของไทยทั้งภาครัฐและเอกชน จะต้องเร่งพัฒนาและยกระดับคุณภาพของสถาบัน เพื่อรักษานักศึกษาไทยระดับหัวกะทิไว้ให้ได้ และยังสามารถเป็นพลังดึงดูดนักศึกษาที่มีคุณภาพจากต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทย ซึ่งหมายถึงสถาบันการศึกษาไทยมีสิทธิ์เลือกคนเก่งเข้ามาเรียนในไทย“เราต้องได้คนเก่งในระดับหนึ่งมาเรียน และต้องการชนชั้นนำหรือระดับเจ้าสัวของต่างประเทศเข้ามาเรียนในไทยด้วย”ตรงนี้คือประเด็นหนึ่งที่ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตั้งเป้าหมายไว้เพื่อสอดคล้องกับการเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพย่อมได้นักศึกษาที่มีคุณภาพเช่นกัน ! ที่มา : mgronline.com
ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN”
CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด!
นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568