โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย Post navigation PREVIOUS Previous post: ขยายเวลารับสมัครรับตรง คณะแพทย์ ม.สยามNEXT Next post: มทร.ธัญบุรี ช่วยนักศึกษาออกค่าตรวจหาเชื้อโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
tui sakrapee March 23, 2020 tui sakrapee March 23, 2020 สสว.ร่วมมือ มทร.ธัญบุรี เสริมเทคโนโลยีเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 กิจกรรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร คลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี ปี 2 ความร่วมมือ สสว.และ มทร.ธัญบุรี ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 ณ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ต.แจงงาม อ.หนองหญ้าไซ จ.สุพรรณบุรี กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.) ธัญบุรี ได้รับมอบหมายจาก สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) ให้ดำเนินการกิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตร ภายใต้โครงการสนับสนุน SME ปี 2563 การอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการดำเนินงานของคลัสเตอร์ กิจกรรมพัฒนาเครือข่ายเทคโนโลยีเพื่อการเกษตรฯ ครั้งนี้ เจาะกลุ่มไปที่ผู้ประกอบการซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อน ซึ่งเป็นผลไม้เศรษฐกิจสำคัญ และเป็นที่ต้องการของตลาด จากผู้บริโภคทั้งในและต่างประเทศ อีกทั้งสามารถปลูกได้หลายพื้นที่ของประเทศไทย โดยเลือกพื้นที่ จ.สุพรรณบุรี ซึ่งมีกลุ่มเกษตร-ผู้ประกอบการที่ปลูกเมล่อนอยู่เป็นจำนวนมาก นายอำนาจ แตงโสภา นายกองค์การบริหารส่วนตำบลแจงงาม ผู้นำวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง เล่าว่า การปลูกเมล่อนสุพรรณบุรี เริ่มต้นเมื่อปี 2549 โดยจุดประสงค์ต้องการให้ครอบครัวมีความอบอุ่น ให้มีชีวิตที่ดีขึ้น พื้นที่บริเวณตำบลแจงงาม “อีสานตะวันตก” เป็นพื้นที่แห้งแล้ง เสร็จจากฤดูทำข้าว ต้องอพยพไปทำงานต่างจังหวัด ทำให้ครอบครัวขาดความอบอุ่น มีแกนนำในการทำเกษตรเมล่อน 21 คน ใช้เวลา 5 ปี ในการลองผิดลองถูก จนประสบความสำเร็จเป็นแหล่งผลิตเมล่อนที่ใหญ่และผลิตเมล่อนได้ต่อเนื่อง 1100 – 1200 ตัน/ปี สำหรับเมล่อนพรีเมียม สร้างรายได้ 70 – 100 ล้าน/ปี ทำให้เศรษฐกิจของคนในพื้นที่มีชีวิตที่ดี เมื่อเข้าปีที่ 6 บรรลุวัตถุประสงค์ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ตั้งเป็นวิสาหกิจชุมชนกลุ่มผู้ปลูกเมล่อนบ้านหนองคาง ปัจจุบันมีสมาชิก 90 ราย เมล่อนของทางกลุ่มเน้นเรื่องคุณภาพ และความซื่อสัตย์ต่อผู้บริโภค การปลูกเมล่อนปลูกในโรงเรือน โดยปลูกในดิน ปลูกไปนาน ๆ ดินจะเสื่อม ทำให้เกษตรกรต้องเปลี่ยนดินแปลงใหญ่ เพิ่มต้นทุนในการผลิต จึงอยากแก้ปัญหา โดยทางอาจารย์ มทร.ธัญบุรี ได้นำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถางมาถ่ายทอด หวังว่าเทคโนโลยีที่ได้รับการถ่ายทอด เป็นตัวช่วยเสริม เกษตรกรนำมาปรับใช้ในการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต อาจารย์ธีระพงษ์ ควรคำนวณ หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) เล่าว่า การพัฒนาในรูปแบบคลัสเตอร์ ‘เมล่อน’ ในหลักสูตรการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมสำหรับการผลิตและการแปรรูปเมล่อน ยุค 4.0 เนื้อหาทั้งหมดจะเน้นเกี่ยวกับองค์ความรู้เรื่องคลัสเตอร์ กรณีศึกษาการพัฒนาคลัสเตอร์ต้นแบบ บทบาทหน้าที่ผู้ประสานงาน (CDA) กิจกรรมจิตสัมพันธ์สร้างสรรค์ทีม สู่การบูรณาการพัฒนาเชื่อมโยงคลัสเตอร์ และเนื้อหาสำคัญด้านเทคโนโลยีนวัตกรรมที่ใช้กับการผลิตเมล่อน “การปลูกเมล่อนในกระถาง” รวมถึงการทำแผนยุทธศาสตร์ เพื่อการพัฒนาคลัสเตอร์ในปี 2563 โดยการร่วมกันปรึกษา แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากทีมคณาจารย์ มทร.ธัญบุรี ภายใต้งานวิจัย นวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่จะนำไปสู่การลดต้นทุนการผลิต ก่อให้เกิดการใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ การขยายตัวของธุรกิจ ผลผลิตทางการเกษตรมีราคาที่เหมาะสม และผู้ประกอบการสามารถดำเนินธุรกิจได้อย่างยั่งยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดียิ่งขึ้น โดยมุ่งเน้นให้มีการรวมกลุ่มผู้ประกอบการตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ ไปจนถึงปลายน้ำ แบบองค์รวม เพื่อให้เกิดความร่วมมือและเชื่อมโยงอย่างเข้มแข็ง สามารถพึ่งพากันภายในกลุ่ม เพื่อให้เกิดความยั่งยืน ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสงประดิษฐ์ ผู้อำนวยการหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มทร.ธัญบุรี เล่าว่า ปีที่ 2 ของคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี โดย 80 % ของกลุ่มเป็นเกษตรกรปลายน้ำ เกษตรกรผู้ประกอบการ ที่มีความต้องการเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการพัฒนาการปลูกเมล่อน เดิมเกษตรกรเมล่อนสุพรรณบุรีปลูกในดิน ซึ่งเมื่อปลูกนาน ๆ ทำให้ดินเสื่อมสภาพ เมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตเสร็จ ต้องพักดิน 1 เดือน ซึ่ง 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 3 ครั้ง ถ้านำเทคโนโลยีการปลูกเมล่อนในกระถาง เกษตรกรไม่ต้องพักดิน นำกระถางใหม่ที่เติมมาใช้ 1 ปี สามารถปลูกและเก็บเกี่ยวเมล่อนได้ 4 – 5 ครั้ง เป็นการลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต นอกจากการนำเทคโนโลยีมาใช้แล้ว จุดประสงค์คือการสร้างธุรกิจเทคโนโลยีผลิตกระถางเมล่อนให้กับกลุ่มเมล่อนสุพรรณบุรี สร้างรายได้ให้กับเกษตรกร เป็นเจ้าของธุรกิจเป็นผู้ประกอบการต่อไป นายธนาวุฒิ มาสำราญ ผู้ประสานงานคลัสเตอร์เทคโนโลยีเพื่อการเกษตรเมล่อนสุพรรณบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกเมล่อนจังหวัดสุพรรณบุรี เล่าว่า ปีที่แล้วได้มีโอกาสเดินทางกับโครงการไปศึกษาดูงานและเผยแพร่การปลูกเมล่อนที่ประเทศกัมพูชา ทำให้เมล่อนสุพรรณบุรีเป็นที่รู้จัก ตลอดจนนำเมล่อนออกบูธตามที่ต่าง ๆ งานประจำจังหวัดสุพรรณบุรี ทำให้เมล่อนของหนองหญ้าไซเป็นที่รู้จัก ไปไหนมาไหนมีแต่คนบอกว่าเมล่อนหนองหญ้าไซอร่อย ได้ยินแล้วประทับใจ การเข้าร่วมโครงการนี้ได้รับความรู้ทางด้านเทคโนโลยี ความรู้ใหม่ ๆ เทคโนโลยีในการคำนวณการให้น้ำและปุ๋ย ซึ่งไม่เคยรู้ว่าเมล่อนที่ปลูกต้องการปุ๋ยจำนวนเท่าไร ได้แต่ใส่ ๆ ลงไป มีเทคโนโลยีมาคำนวณปริมาณปุ๋ย ทำให้ลดต้นทุนในการซื้อปุ๋ย ชลธิชา ศรีอุบล กองประชาสัมพันธ์ มทร.ธัญบุรี รายงาน