นิทรรศการตลาดนัดหลักสูตร โครงการ “เลือกแนวทาง…วางอนาคต”ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ครั้งที่ 27 EZ WebmasterNovember 17, 2024 เปิดให้ลงทะเบียนแล้ว OPEN HOUSE 2024 ม.เกษตรศาสตร์ บางเขน ครบทุกคณะ . กำหนดการ : 19-20 ธันวาคม 67 วิทยาเขต : บางเขน ค่าใช้จ่าย :… มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
“ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย” EZ Webmaster Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: “ศรีปทุม ห่วงใย” มอบหน้ากาก Face Shield ขสมก.NEXT Next post: ม.แมสซี ประเทศนิวซีแลนด์ ชวนน้องๆเยาวชนไทย โชว์ไอเดียออกแบบคาแรคเตอร์ตัวละคร “ฮีโร่ผู้พิทักษ์โลก” Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search
ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
EZ Webmaster April 16, 2020 EZ Webmaster April 16, 2020 ถาปัตย์ ม.รังสิต ตะลุยภูชีฟ้า ออกแบบ และก่อสร้าง “เฮือนฮ่วมใจ๋” ศาลาอเนกประสงค์ สำหรับสถานีและเจ้าหน้าที่ควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า “เฮือนฮ่วมใจ๋” เป็นเรือนร่มใจ ,ร่มฤดี ร่มเรือนที่ทำให้จิตใจสงบ เรือนสำหรับผู้เข้าอบรมใช้รับประทานอาหาร และแบ่งกลุ่มเพื่อปรึกษาหารือการป้องกันไฟป่า เรือนที่รวมตัวพวกเราทุกคน สร้างขึ้นมาด้วยมือ และหัวใจ โดย นักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จาก Studio Design Lab มหาวิทยาลัยรังสิต อาจารย์ไพบูลย์ กิตติกูล อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ในฐานะประธานโครงการ กล่าวว่า โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องจากการศึกษาโครงการ 4+1 และวิชาการออกแบบสถาปัตยกรรม 6 (ARC429) ภาคการศึกษาที่ 2/2562 ภายใต้ชื่อโครงการทัศนศึกษาและปฏิบัติการ (Workshop) ในหัวข้อ Tectonic ความหมายของศิลปะในการ ก่อ- สร้าง ประกอบด้วยหลายส่วนตั้งแต่ สุนทรียศาสตร์ เทคนิคกรรมวิธีที่ดี วัสดุที่เลือกมาใช้ในการก่อสร้างให้เหมาะสมกับบริบท และรูปแบบโครงสร้างก่อเป็นรูปทรงที่ตอบสนองการใช้งาน รวมถึงบูรณาการความคิดความรู้ในเชิงช่างของพื้นที่มาออกแบบสร้างอาคารให้งดงามน่าสนใจ โดยได้นำนักศึกษาจาก Studio Design Lab กว่า 10 คน ลงพื้นที่ทดลองก่อสร้างงานที่ออกแบบด้วยการลงมือทำจริง สร้างศาลาอเนกประสงค์ “เฮือนฮ่วมใจ๋” อาคารไผ่ รองรับคนได้จำนวน 40-50 คน สำหรับเป็นที่พักผ่อนและ รับประทานอาหาร แก่เจ้าหน้าที่ดับไฟ ณ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย และมอบให้ทางสถานีควบคุมไฟป่า ภูชี้ฟ้า เพื่อเป็นสาธารณะประโยชน์ต่อไป สำหรับโครงการนี้เป็นการบูรณาการการเรียนการสอนร่วมระหว่างคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี มีนโยบายความร่วมมือทางวิชาการเน้นการเรียนการสอนในชั้นเรียน ควบคู่กับการปฏิบัติงานจริงนอกห้องเรียนเพื่อประสบการณ์ตรงในการพบเห็นและเรียนรู้ การ Workshop หนึ่งในรูปแบบที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจแก่นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ร่วมกันระหว่างสถาบัน แนวทางการศึกษาปฏิบัติเป็นการต่อยอดประเด็นการเรียนในเรื่อง Tentonic ในขั้นตอนสุดท้ายของการเรียนการสอนในห้องเรียนนั่นคือ หลังจากการออกแบบทำรูปจำลองแล้ว ต้องมีการลงมือทำ ก่อสร้าง เรียนรู้ขั้นตอนของการปฏิบัติจากการหยิบจับและทดลองสร้างผ่านสัดส่วนจริง วัสดุจริง และแก้ปัญหาจากสถานการณ์จริงในภาคสนาม ทำให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจกระบวนการออกแบบ ก่อสร้าง และเข้าใจนิยามความหมายของวัสดุ และเทคนิคในการก่อสร้างได้ทุกมิติ แนวทางการลงพื้นที่ภาคสนามก่อสร้างศาลาอเนกประสงค์นั้นทาง Studio Design Lab โดยคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ได้ประสานงานร่วมกับทางสถาปนิกผู้รับผิดชอบโครงการปรับปรุงซ่อมแซม และทางสถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย เพื่อเตรียมข้อมูลที่จำเป็นสำหรับความประสงค์ของสถานี มาพัฒนาออกแบบก่อนขั้นต้นและ ระหว่างการก่อสร้างอาคาร จะมีการสอดแทรกเทคนิค ความรู้ในงานไม้และฝีมือในเชิงช่างจากประสบการณ์จริง โดยมีอาจารย์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่า และสถาปนิกโครงการ คอยให้คำแนะนำการทำงานจริงตลอดกว่า 1 สัปดาห์ คุณสันธาน เวียงสิมา หนึ่งในผู้ริเริ่มโครงการในฐานะสถาปนิกประจำโครงการ กล่าวว่า “ด้วยสถานการณ์ไฟป่าที่เกิดขึ้นประกอบกับสภาพทางสังคมของชุมชนบนภูชีฟ้านี้เอง จากที่ได้สัมผัสพบว่าพื้นที่แห่งนี้มีทรัพย์ดิน สินในน้ำ มีความอุดมสมบูรณ์ที่ในฐานะคนเมืองอย่างเราไม่มี แต่ชาวบ้านพื้นถิ่นเหล่านั้นมีแต่กลับมองข้ามพยายามสรรหาวัสดุ หรือสิ่งแปลปลอมจากพื้นราบมาใช้ นำมาซึ่งการเกิดโครงการที่อยากจะช่วยให้ชาวบ้านได้เห็นว่าทรัพยากรพื้นถิ่นที่เป็นสมบัติของเขาสามารถทำประโยชน์ได้นานาประการ และชาวบ้านเองมีองค์ความรู้จากสภาพแวดล้อมพื้นถิ่นที่ควรส่งต่อไปยังคนรุ่นใหม่ จึงได้ร่วมกับอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัยรังสิต จัดกิจกรรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้เหล่านั้นและสร้างจิตสำนึกแก่นักศึกษาเพื่อให้เกิดความรับผิดชอบต่อสังคมจากการเรียนรู้ปัญหาจริงของสังคมที่นักศึกษาอาจพบเจอสถานการณ์จริงเมื่อจบไปเป็นสถาปนิกในอนาคต ก่อนการลงพื้นที่ได้บรรยายเพื่อเปิดมุมมอง โลกทรรศน์ ให้ความรู้ในทางทฤษฎีสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น แนวคิด และประเด็นทางเทคนิคในการก่อสร้างก่อน จากนั้นเมื่อลงพื้นที่จริงนักศึกษาได้เริ่มเรียนรู้การสัมผัสวัสดุ การก่อสร้างจากวัสดุธรรมชาติด้วยวิธีธรรมชาติ มีการสร้างทัศนคติเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมช่าติต่าง ๆ ซึ่งเป็นวัสดุเชิงสร้างสรรค์ที่นักศึกษาสามารถหยิบยกมาออกแบบเชิงสถาปัตยกรรมได้ นักศึกษาได้รับการชี้แนะโดยเน้นกระบวนการ ปรับวิธีคิด เป็นวิธีทำ ต้องทำอย่างไร? จากจินตนาการสู่กระดาษ จากกระดาษสู่คอมพิวเตอร์ จากคอมพิวเตอร์สู่หุ่นจำลอง ๑:๑ จากหุ่นจำลอง ๑:๑ สู่งานก่อสร้างจริง ศาลาเอนกประสงค์โครงสร้างไผ่และฐานดินซีเมนต์ ซึ่งจากการลงพื้นที่ครั้งนี้น่ายินดีที่เห็นว่านักศึกษามีศักยภาพ มีพื้นฐานที่ดีจากการเรียนในห้อง ขณะที่ส่วนหน้างานนักศึกษาได้สัมผัสการทำงาน เข้าใจว่าการก่อสร้างด้วยวัสดุทางธรรมชาติที่ไม่ง่าย เป็นงานที่ต้องใช้ความอดทน ความพยายาม นักศึกษาลงมือเลื่อยไผ่เอง ได้เรียนรู้วิธีการแต่ละขั้นตอนด้วยตัวเอง ระหว่างการทำงานที่มีการแบ่งทีมรับผิดชอบ มีการแก้ปัญหาปรับเปลี่ยนหน้างานอยู่ตลอด และนักศึกษาก็ทำได้ ที่สำคัญคือนักศึกษามีทัศนคติที่ดีต่องานออกแบบของตนเอง ในฐานะที่เป็นที่ปรึกษาโครงการที่เป็นเพียงคนคอยกระตุ้น และดึงศักยภาพในตัวของเขาออกมา ทำให้ว่าเขาเกิดแรงบันดาลใจจนผลักดันให้เกิดผลงานออกมาได้อย่างน่าภาคภูมิใจ นายสราวุธ ค้อมคำพันธ์ หัวหน้าสถานีควบคุมไฟป่าภูชี้ฟ้าอันเนื่องมาจากพระราชดำริ อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธ์ุพืช ในฐานะเจ้าของพื้นที่ กล่าวว่า “สถานของเราตั้งอยู่ที่อำเภอเทิง จังหวัดเชียงราย รับผิดชอบพื้นที่ประมาณ 187,500 ไร่ มีหน้าที่รณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันไฟป่า ปฏิบัติงานด้านการควบคุมไฟป่า รวมถึงประสานงาน สนับสนุน ร่วมปฏิบัติงานดับไฟป่าและบรรเทาภัยธรรมชาติกับหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เรามีความต้องการพื้นที่ในส่วนที่นำมาเป็นสถานทราอบรมการป้องการไฟป่าอย่างถูกวิธีให้แก่ราษฎรในพื้นที่ของเรา เนื่องจากราษฎรเหล่านั้นเป็นเครือข่ายสำคัญที่ทำงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ของเราในการช่วยเหลือและป้องกันไฟป่า เราขาดพื้นที่ที่ใช้ในการเป็นที่พักคุยงาน พักรับประทานอาหาร รวมถึงประชุมงานระหว่างเจ้าหน้าที่และราษฎรที่มาเข้ารับการอบรม เมื่อทางสถานีของเราได้รับการติดต่อจากสถาปนิกโครงการ และอาจารย์จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทาลัยรังสิต เรามีความยินดีเป็นอย่างมากที่ทางสถาบันการศึกษาให้ความสำคัญมองเห็นปัญหาความต้องการของทางสถานี และได้เลือกสถานีของเราเป็นการจัดการเรียนนอกห้อง มาใช้สถานที่ลงมือก่อสร้างอาคารให้กับเรา ซึ่งการก่อสร้างอาคารได้มีการประสานงาน ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้พื้นที่ใช้สอยตามความต้องการของทางสถานีซึ่งเป็นอาคารไผ่ และได้ใช้วัสดุจากพื้นที่ของเราเอง ซึ่งอาคารพักผ่อนนี้จะเป็นอาคารอีกหนึ่งหลังที่ทางเราจะใช้ประโยชน์ในการทำกิจกรรมให้มากที่สุด นอกจากนี้เรายังได้รับความร่วม คำแนะนำต่าง ๆ ในการดูแลรักษาอาคารให้สามารถใช้ได้ในระยะยาวอีกด้วย” นางสาวสุรัญชญา พลนครเดช และนายพิพัฒนพงศ์ นวดิจศุภกร นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต ที่เข้าร่วมโครงการ กล่าวว่า “เราแบ่งเหน้าที่กันเป็นฝ่ายออกแบบ (Design) ฝ่ายก่อสร้าง และฝ่ายจัดเตรียมวัสดุ แต่ละฝ่ายก็รับผิดชอบหน้าที่ของตัวเองคนที่ทำโครงสร้างก็จะดูแบบและทำโครงสร้างพวกข้อต่อต่างๆ ส่วนเพื่อนจะจัดเตรียม ไผ่ ขนาดที่ต้องการตามแบบไว้ให้กับเรา เพื่อนที่รับผิดชอบก่อสร้าง ขึ้นแบบ 3D ก็แยกย้ายกันทำ แต่ละคนก็รับงานต่อกันโดยมีการคุยกัน แก้ปัญหาร่วมกันอยู่ตลอดเพื่อให้งานออกแบบก่อสร้างของเราออกมาสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งวัสดุก็ทำมาจากธรรมชาติทั้งหมดซึ่งพวกเราได้ศึกษา หาข้อมูล เตรียมการกันมาก่อนการลงพื้นที่มาบ้าง ข้อมูลที่เราได้รับจากการเรียนในห้องเรียนประกอบกับคำแนะของอาจารย์ และที่ปรึกษา ร่วมถึงการได้แชร์ความคิดเห็นกับพี่ๆ เจ้าหน้าที่เจ้าของสถานที่ ทำให้เราสามารถปรับเปลี่ยนแผนการทำงานหน้างานได้ดี แม้จะมีอุปสรรคปัญหาบ้างแต่ก็ได้กำลังใจ และพวกเรามีความตั้งใจในการาลงพื้นที่ทำงานจริง สุดท้าย การได้ทำงานออกแบบจาพื้นฐานความรู้สถาปัตยกรรมที่เรียนมากับการใช้วัสดุท้องถิ่น ผลงานออกแบบ ก่อสร้างอาคารนี้เกิดขึ้นจรง ส่งต่อให้พี่ๆ เจ้าหน้าที่ได้ใช้ประโยชน์ เราก็รู้สึกดีใจและภูมิใจกับผลงานของพวกเราทุกคน สำหรับอาคารพักผ่อนนี้พวกเราได้ร่วมกันตั้งชื่อว่า “เฮือนฮ่วมใจ๋” ส่งต่อให้กับ สถานีควบคุมไฟป่าภูชีฟ้า จังหวัดเชียงราย”
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต