New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์…
วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์…
EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น Post navigation PREVIOUS Previous post: สกสว. ขับเคลื่อนความรู้ใหม่ ช่วยประเทศยามวิกฤติ COVID – 19 ชี้ความรู้และนวัตกรรมใหม่ๆ เป็นเส้นทางท้าทายของภูมิปัญญาไทยNEXT Next post: งานวิจัย COVID-19 เผยพฤติกรรมการรับรู้ข่าวสารชาวเมืองและชนบทต่างกัน ชี้รัฐสื่อสารถูกคน ถูกเรื่อง จะกระตุ้นความร่วมมือจากประชาชนมากขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search
“กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
EZ Webmaster April 21, 2020 EZ Webmaster April 21, 2020 อยากเป็น “มากกว่าวิศวกร” ต้อง TU-PINE มธ. ! โอกาสเงินเดือนสูงในยุคดิสรัปชัน เพราะเรียนรู้มากกว่า “วิศวฯ” อยากเป็น “วิศวกร” ก็อยากเป็น ! แต่จะเป็นอย่างไรให้สามารถปรับตัวได้ในยุคดิสรัปชัน ? นั่นเป็นเพราะส่วนหนึ่งของโอกาสเติบโตในระดับที่สูงขึ้น เกิดจากความเชี่ยวชาญที่มากกว่า 1 สาขา และไม่หยุดเรียนรู้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE ได้เปิดสอนในหลักสูตรที่ช่วยเติมเต็มความฝันน้อง ๆ ให้เป็นได้ “มากกว่าวิศวกร” ในโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ (TU-PINE) ที่ประกอบด้วย 4 หลักสูตรวิศวะฯ พันธุ์ใหม่ ที่ผลิตวิศวกรรุ่นพี่มากความสามารถขับเคลื่อนประเทศจำนวนมาก ในวันนี้TSE จึงได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับ TU-PINE มาให้น้อง ๆ ได้ทำความเข้าใจไปพร้อมกัน แต่ละหลักสูตรจะน่าสนใจแค่ไหน ไปดูกันเลย ! “EBM หลักสูตรวิศวกรอนาคตไกล ก่อสร้างก็ได้ บริหารธุรกิจก็ดี” รองศาสตราจารย์ ดร.วีรยา ฉิมอ้อย ประธานหลักสูตร EBM เล่าว่า ไม่ว่าเราจะประกอบอาชีพอะไร ต้องเข้าใจเสมอว่าการทำงานของเรานั้น เป็นเสมือนฟันเฟืองหนึ่งของ ‘ธุรกิจ’ หากเราเป็นวิศวกรที่เปี่ยมด้วยความรู้เฉพาะทางนั่นก็นับเป็นเรื่องดี แต่ถ้าเราเป็นวิศวกรที่มีทั้งทักษะเฉพาะทาง และมุมมองด้านการบริหารธุรกิจ เราก็จะมีโอกาสเติบโตได้ไวและก้าวหน้าไปได้ไกลขึ้น เช่นเดียวกับนักศึกษาที่เรียน “หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)” เพราะหลักสูตรนี้ถูกดีไซน์มาให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งด้านวิศวกรรมศาสตร์ และพาณิชยศาสตร์ โดยมุ่งเน้นพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่สำคัญในการประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรมโยธา ขณะเดียวกันก็มีความรู้ทางธุรกิจควบคู่กันไป นอกจากรายวิชาด้านวิศวกรรมโยธาอันเข้มข้นแล้ว นักศึกษาจะได้เรียนรายวิชาด้านการบริหารธุรกิจอย่าง นวัตกรรมกับกระบวนการคิดผู้ประกอบการ หลักสำคัญของการบัญชี การเงินธุรกิจ และหลักการตลาด ตลอดจนสามารถเลือกทำโปรเจกต์จบเกี่ยวกับการบริหารโครงการฯ โดยมีอาจารย์จากทั้งคณะวิศวะฯ และพาณิชย์ฯ เป็นที่ปรึกษาร่วมกันอีกด้วย โดย ปัจจุบันประเทศไทยมีโครงการก่อสร้างสาธารณูปโภคสเกลใหญ่ ๆ ที่ทำให้วิศวกรโยธา ยังคงเป็นที่ต้องการอีกมาก และนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร EBM จะสามารถตอบโจทย์ตลาดแรงงานได้เป็นอย่างดี หรือจะทำธุรกิจเป็นของตัวเองก็ย่อมได้ เพราะไม่ได้มีดีแค่ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาเท่านั้น แต่มีข้อได้เปรียบในด้านการบริหารธุรกิจที่มากกว่าด้วย “ไฟฟ้า+อุตสาหการ (iPEN-iEE) ประตูสู่โอกาสในการทำงานที่กว้างกว่า” รองศาสตราจารย์ ดร.นภดล อุชายภิชาติ ประธานหลักสูตร iPEN-iEE เล่าเพิ่มเติมว่า ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ‘การบริหารจัดการ’ เป็นทักษะสำคัญสำหรับการทำงานในทุกอุตสาหกรรม โดยเฉพาะงานด้านวิศวกรรมที่ต้องอาศัยการมองภาพรวมของระบบงาน และบริหารจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและราบรื่น ซึ่งจะดีแค่ไหนถ้าน้องๆ สามารถพัฒนาทักษะเหล่านี้ได้ตั้งแต่วัยเรียน ดังนั้น หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการ (iPEN-iEE) ถูกดีไซน์มาเพื่อตอบโจทย์นี้ ด้วยโครงสร้างหลักสูตรที่ผสมผสานความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้า 70% และวิศวกรรมอุตสาหการ 30% เข้าด้วยกัน จะทำให้นักศึกษาจบมาเป็น ‘วิศวกรไฟฟ้าที่มีทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรม’ ที่พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันที “การออกแบบธุรกิจเพื่องานนวัตกรรม” “การเตรียมตัวเป็นผู้ประกอบการ” “การประยุกต์ใช้ AI และ IoT ในงานอุตสาหกรรม” “การจัดการทางวิศวกรรม” “ไมโครโปรเซสเซอร์ในระบบอัตโนมัติ” นี่เป็นเพียงส่วนหนึ่งขององค์ความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหการที่นักศึกษาจะได้เรียนรู้จากหลักสูตร iPEN-iEE ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้เรามีโอกาสในการทำงานที่กว้างขวางและหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น ฝ่ายวางแผนการผลิต ฝ่ายควบคุมคุณภาพ ฝ่ายซ่อมบำรุง ฝ่ายจัดซื้อจัดจ้าง ฯลฯ ท่ามกลางตลาดแรงงานที่มีการแข่งขันสูง คนที่มีทักษะรอบด้านย่อมสร้างความโดดเด่นให้ตนเองได้มากกว่า เช่นเดียวกันกับนักศึกษาที่จบหลักสูตร iPEN-iEE ที่นอกจากจะถูกเติมเต็มด้วยความรู้ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าอันเข้มข้นแล้ว ยังแฝงไว้ซึ่งทักษะด้านการบริหารจัดการอุตสาหกรรมระดับมืออาชีพอีกด้วย “Soft-en หลักสูตรพันธุ์ใหม่ ความต้องการสูง แต่รายได้สูงกว่า” รศ. ดร.วีรชัย อโณทัยไพบูลย์ ประธานหลักสูตร Soft-en เล่าว่า ในยุคปัจจุบันที่คนส่วนใหญ่เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และใช้สมาร์ทโฟนราวกับเป็นอวัยวะที่ 33 ‘ซอฟต์แวร์’ จึงทวีความสำคัญขึ้นเรื่อย ๆ โดยไม่เพียงเป็นที่ต้องการใช้งานของคนทั่วไปในรูปแบบแอปพลิเคชันมือถือ แต่ยังเป็นที่ต้องการของทุกองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ในการปรับเปลี่ยนองค์กรให้เป็นสังคมดิจิทัลอีกด้วย แต่ทั้งนี้ แม้วิศวกรซอฟต์แวร์จะเป็นสายอาชีพที่มีค่าตอบแทนสูง แต่ปัจจุบันประเทศไทยเรียกได้ว่าขาดแคลนอีกมาก โดยหลักสูตรวิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Soft-en) ของ TSE นั้นมุ่งผลิตวิศวกรซอฟต์แวร์ที่มีคุณภาพ ผ่านการเรียนการสอนที่เน้นการลงมือปฏิบัติในลักษณะ Project-based เพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์จริงตลอดระยะเวลาเรียน นอกจากนี้หลักสูตรยังมีรายวิชาที่สนับสนุนให้นักศึกษาได้ลองสร้างซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ และในปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกไปทำสหกิจโดยฝึกงานจริงในสถานประกอบการได้ทั้งในและต่างประเทศ ส่วนการทำโปรเจกต์ปีสุดท้ายนักศึกษาสามารถเลือกทำกับอาจารย์ในคณะหรือเปลี่ยนไปทำสหกิจกับหน่วยงานภายนอกได้ ทั้งนี้ ตลอด 4 ปี ผู้เรียนจะได้ประสบการณ์ในการทำงานจริง จากโครงงานในรายวิชา การไปศึกษาดูงาน รวมถึงการบรรยายพิเศษจากวิทยากรภายนอกที่หลักสูตรจัดให้อย่างสม่ำเสมอ โดยเมื่อเรียนจบก็มีทักษะพร้อมทำงานได้ทันที และหากใครพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะทำรายได้หลักแสนต่อเดือนภายในระยะเวลาไม่กี่ปีได้ด้วย “ถ้าเรียนจบ V-TECH ไป บริษัทก็มั่นใจได้เลยว่าทำงานเป็น ไม่ต้องเทรนนิ่งให้เสียเวลา” ดร. สนันตน์เขม อิชโรจน์ ประธานหลักสูตร V-TECH เล่าว่า จากการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับผู้ผลิตยานยนต์อันดับต้น ๆ ของประเทศไทยอย่าง Mitsubishi Motors (Thailand) มาตั้งแต่ต้น เพื่อออกแบบให้เนื้อหาที่น้อง ๆ จะได้เรียนนั้นตอบโจทย์ความต้องการของตลาดยานยนต์มากที่สุด จึงเป็นจุดเริ่มต้นของหลักสูตรวิศวกรรมเทคโนโลยียานยนต์ (V-TECH) หลักสูตรนี้ เรามีการจัดการเรียนการสอนแบบ Work Integrated Learning (WIL) ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนรู้ทั้งทฤษฎีและการปฏิบัติแบบจัดเต็ม ด้วยเครื่องมือและห้องปฏิบัติการที่ครบครันและทันสมัย ประหนึ่งยกโรงงานมาไว้ที่คณะ โดยในแต่ละชั้นปีก็จะเน้นให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะที่ต่างกันไป ดังนี้ ปี 1 ปูความรู้พื้นฐานที่ต้องใช้ในการพัฒนายานยนต์ พร้อมเน้นให้ออกแบบยานยนต์เบื้องต้นได้ ปี 2 เจาะลึกเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องยนต์ และเข้าใจทฤษฎีกลไกการเคลื่อนไหวเชิงกล ปี 3 ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจำลองการออกแบบยานยนต์ ผ่านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ปี 4 ฝึกงานตลอด 1 ปีการศึกษา พร้อมทำโปรเจกต์ร่วมกับภาคอุตสาหกรรม โดยเมื่อนักศึกษาผ่านการฝึกงานตลอด1 ปีการศึกษาเต็มในช่วงชั้นปีที่ 4 ก็การันตีได้เลยว่าเราจะเป็นวิศวกรที่ครบเครื่องเรื่องยานยนต์ พร้อมทำงานอย่างมืออาชีพได้ทันทีเมื่อเรียนจบ ปัจจุบันอุตสาหกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และมีความต้องการบุคลากรทางด้านวิศวกรรมสูงถึง 9,100 อัตรา ดังนั้นนักศึกษาที่เรียนจบหลักสูตร V-TECH ทุกคนจึงมั่นใจได้เลยว่ามีแต่คนอยากจะมาจองตัวไปทำงานด้วยอย่างแน่นอน สำหรับน้อง ๆ TCAS63 คนไหนที่สนใจศึกษาต่อในหลักสูตร TU-PINE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (TSE) สามารถติดตามข่าวสารเพิ่มเติมได้ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT และ www.engr.tu.ac.th
เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่