ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี…
เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ