ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA tui sakrapeeDecember 23, 2024 “สุชาดา” เลขาฯ รมว.อว. นำทีมแก้ปัญหาร้องเรียนหลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ ยันหลักสูตรได้มาตรฐานสากล EASA เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. น.ส.สุชาดา ซาง แทนทรัพย์ เลขานุการ รมว.การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)… DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว ประเทศจีน และบริษัทกุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต อีคอมเมิร์ซ จำกัด ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เปิดโครงการ “Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย”… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี…
เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th EZ Webmaster Related Posts หลักสูตรนายช่างซ่อมเครื่องบิน มทร.กรุงเทพ อว.สอบแล้ว ยันชัดได้มาตรฐานสากล EASA DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” Post navigation PREVIOUS Previous post: โอกาส ทางรอด ของคนออกแบบบ้าน กับอาชีพ “สถาปนิก” ในยุค Disruption และ Covid-19NEXT Next post: ม.ศรีปทุม พร้อม! จัดเตรียมสถานที่ทุกอย่างใหม่ เน้น Social Distancing Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
EZ Webmaster June 11, 2020 EZ Webmaster June 11, 2020 เด็ก TCAS รอบ 5 ต้องรู้ ! เรียนวิศวะได้อะไรมากกว่าที่คิด รีวิวประสบการณ์ตรง จาก “วิศวะรุ่นพี่ TSE รั้วแม่โดม ต้องยอมรับว่าการเรียนในระดับอุดมศึกษา ไม่ว่าจะเรียนคณะ/สาขา ในมหาวิทยาลัยไหน ย่อมมีความยากง่ายสอดแทรกอยู่เสมอ แต่หากเราเลือกที่จะมองว่า การเรียนในสาขานั้น ๆ มาพร้อมกับ “ความยาก” หรือมีความคิดที่ว่า “เรียนไม่ได้” นั้น ก็เท่ากับเป็นการปิดกั้นโอกาสในการเรียนรู้หรือทดสอบศักยภาพของตนเอง และพาตนเองถอยห่างจากความฝันที่เคยตั้งมั่นไว้ และเชื่อหรือไม่ว่า “เรียนวิศวะยากไหม?” เป็นคำที่ถูกค้นหาบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่บ่อยครั้ง ซึ่งความสงสัยนี้ก็อาจนำไปสู่ความลังเลใจได้ไม่น้อยเลยทีเดียว เอาเป็นว่าอย่าเพิ่งเดากันไปก่อนดีกว่า บทความนี้จะพาไปพบกับรุ่นพี่ จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หรือ TSE คณะที่ได้รับเสียงตอบรับจากเด็ก TCAS63 จำนวนมาก ที่มาร่วมไขข้อข้องใจ พร้อมกับแชร์เทคนิคเรียนยังไงให้ดี และมีโปรไฟล์กิจกรรมควบคู่กันไปด้วย ถ้าน้อง ๆ พร้อมแล้ว ตามมาอ่านกันเลย !! • “ความรับผิดชอบ ความอดทน และความขยัน จะพาไปสู่เป้าหมาย” นายรัฐพิทักษ์ ก้อพิทักษ์ (ซาร์ด) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า พอก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย การเรียนย่อมแตกต่างจากตอนที่เราอยู่มัธยมฯแน่นอน ในมหาวิทยาลัยเรามีอิสระมากขึ้น แต่มันก็ต้องมาพร้อมกับความรับผิดชอบที่สูงขึ้นเช่นกัน อย่างภาควิชาวิศวกรรมโยธาที่ผมเรียน จะต้องใช้ความจำและการทำความเข้าใจในส่วนของเนื้อหา กฎเกณฑ์ทางวิศวกรรมต่างๆ การคำนวณสูตร ใช้ฟิสิกส์เข้ามาต่อยอด รวมถึงการทำแล็บ เพื่อให้เห็นผลลัพธ์ของทฤษฎี ซึ่งเป็นสิ่งที่ท้าทายและน่าตื่นเต้นสำหรับผม และแม้จะดูเป็นสิ่งที่ค่อนข้างแปลกใหม่มาก ๆ แต่มันก็ไม่ยากเกินความสามารถ เพราะตลอดเวลาที่เรียนหรือทำแล็บ จะมีอาจารย์คอยดูแลอย่างใกล้ชิด หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ผมสามารถขอคำปรึกษาได้ตลอดเวลา นอกจากการเรียนแล้ว ผมยังชื่นชอบในการทำกิจกรรมอีกด้วย โดยผมเป็นพิธีกรของชมรมสันทนาการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ในปี 2559 และผู้นำสันทนาการ กองสันทนาการแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ รุ่นที่ 15 ในปี 2560 ถ้าถามว่าผมแบ่งเวลาอย่างไร ในตอนเย็นหากว่างจากการเรียนหรือทำแล็บ ผมจะไปช่วยงานในชมรมทั้งของคณะและมหาวิทยาลัย เนื่องจากตำแหน่งที่ผมได้รับต้องอาศัยการฝึกฝนเป็นอย่างมาก นอกจากกิจกรรมจะฝึกให้ผมรู้จักกับความรับผิดชอบและความอดทนมากขึ้นแล้ว มันยังทำให้ผมได้เจอกับเพื่อนต่างคณะ ได้มาแบ่งปันประสบการณ์ร่วมกันอีกด้วย ซึ่ง “การทำกิจกรรมนั้น มหาวิทยาลัยไม่ได้บังคับ แต่ถ้าเราทำเราก็จะได้ในสิ่งที่มหาวิทยาลัยไม่ได้เปิดสอนเหมือนกัน” หลายคนอาจคิดว่าการทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย จะส่งผลกระทบต่อการเรียนไหม สำหรับผม ผมใช้เทคนิคอยู่ 3 ข้อคือ รับผิดชอบในหน้าที่ให้ได้ คือ ไปเรียนตามตารางที่ลงไว้ ต่อมาคือความอดทน แม้จะทำกิจกรรมหนักแค่ไหน แต่ถ้าอีกวันมีเรียนเช้า ก็ต้องไปให้ได้ อย่างน้อยขอให้อาจารย์เห็นหน้าก็ยังดี สุดท้ายคือความขยัน ผมจะรักษามาตรฐานการเรียน ด้วยการหมั่นทบทวนบทเรียนและหาความรู้ใหม่ ๆ ให้ตัวเองอยู่เสมอ เพราะมันสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพของผมได้ในอนาคต ผมรู้สึกว่าการเรียนในช่วงมหาวิทยาลัยเป็นช่วงหนึ่งในชีวิตที่สนุกมาก ๆ นอกจากได้ความรู้แล้ว ยังได้ทำกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย หากไม่ได้ทำในช่วงนี้ ผมก็ไม่แน่ใจเหมือนกันว่าจบออกไปแล้วจะมีโอกาสอีกไหม เพราะฉะนั้นน้อง ๆ ไม่ต้องเป็นกังวลนะครับ ที่นี่มีทั้งเพื่อนๆ รุ่นพี่ และอาจารย์ที่คอยให้คำปรึกษา ถ้าได้ลองเข้ามาเป็นครอบครัวเกียร์เดียวกันแล้ว อาจจะสนุกจนลืมไปเลยก็ได้ว่าการเรียนวิศวะมันยากจริงไหม • “โฟกัสสิ่งที่จะได้รับ มากกว่าความยากของวิชาที่เรียน” นางสาวกวิสรา ซื่อตรง (ข้าวหอม) โครงการหลักสูตร TU-PINE สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ชั้นปีที่ 2 เล่าว่า แต่ละสาขาวิชาในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ก็มีความยากง่ายที่แตกต่างกันออกไป ส่วนความยากของวิศวกรรมซอฟต์แวร์อยู่ที่การเขียนโปรแกรม ที่เราจะได้เรียนการเขียนโปรแกรมในหลาย ๆ ภาษา ซึ่งแต่ละภาษาก็จะมีรูปแบบในการเขียนโค้ดที่แตกต่างกันออกไปอีก ทั้งนี้ การเขียนโปรแกรมยังต้องอาศัยความรู้ในเรื่องนั้น ๆ ด้วย เช่น หากต้องการเขียนโปรแกรมที่ต้องสร้างเครือข่ายความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต ก็จะต้องมีความรู้ทางด้าน Network Security เป็นต้น ด้วยความแปลกใหม่ทั้งสังคมและเนื้อหาในการเรียน ทำให้ในช่วงแรก ๆ ยังปรับตัวไม่ค่อยได้ บางวิชาเราก็ไม่ได้มีความรู้พื้นฐานมาก เราต้องขยันอ่านหนังสือและหาความรู้เพิ่มมากขึ้น หลายคนอาจจะเครียดและมองว่ามันดูกดดันไปหรือเปล่า แต่เรากลับมองว่าเราจะได้อะไรจากการที่เลือกเรียนในคณะนี้ มากกว่าสิ่งที่เรียนนั้นยากมากน้อยแค่ไหน ดังนั้น ทุก ๆ เทอมเราจะตั้งเป้าหมายเรื่องการเรียนให้กับตัวเอง เพราะเราเชื่อว่าเมื่อไหร่ก็ตามที่เรามีเป้าหมายชัดเจน เราจะมีความมุ่งมั่นและตั้งใจ เพื่อไปถึงเป้าหมายนั้นให้ได้ ที่สำคัญต้องพยายามเข้าเรียนทุกคาบ ตั้งใจเรียน ถ้าไม่เข้าใจตรงไหน จะยกมือถามอาจารย์ทันที หลังเรียนเสร็จก็จะมานั่งอ่านทบทวนในสิ่งที่เรียน ฝึกเขียนโปรแกรมและทำโจทย์บ่อยๆ เมื่อมีเวลาก็จะอ่านเนื้อหาที่จะเรียนในครั้งถัดไปล่วงหน้า พอถึงเวลาเรียน จะได้เข้าใจง่ายขึ้น การที่เราเลือกเรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ก็เพราะว่ามันเป็นสิ่งที่เราชอบและสนใจ แต่สิ่งที่เหมือนได้กำไรคือการเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเต็มที่ ไม่ว่าจะเป็นทั้งภายในหรือภายนอกคณะ เราได้ฝึกทักษะอะไรหลายๆ อย่าง ที่มากกว่าเนื้อหาในหนังสือหรือในชีทที่เรียน แต่เราก็ต้องแบ่งเวลาให้ดี กิจกรรมต้องไม่เสีย ในขณะที่การเรียนก็ยังอยู่ในมาตรฐานที่ตั้งไว้ เรารู้สึกว่าการเรียนคณะวิศวะฯ ให้อะไรมากกว่าคำว่ายากหรือง่าย มันเป็นประสบการณ์ดี ๆ ที่เราเองก็ไม่อยากให้น้อง ๆ พลาดไปเหมือนกัน • “ทฤษฎีทำให้ได้รู้ แต่การลงมือปฏิบัติจะช่วยให้เข้าใจง่ายขึ้น” นายรมย์ พานิชกุล (รมย์) โครงการหลักสูตร TEPE ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล ชั้นปีที่ 4 เล่าว่า วิศวกรรมเครื่องกล เป็นสาขาที่เรียนเกี่ยวกับ กลศาสตร์ พลังงาน การควบคุม เน้นในเรื่องของการทำความเข้าใจกับความสัมพันธ์กันระหว่างสิ่งต่างๆ เป็นหลัก ดังนั้นความรู้พื้นฐานจึงเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะวิชาคณิตศาสตร์และฟิสิกส์ เพราะมันจะทำให้เห็นภาพและเข้าใจได้ง่ายขึ้น หากมีตรงไหนที่ไม่เข้าใจ ก็สามารถถามอาจารย์ หรือจะปรึกษารุ่นพี่ในคณะได้เช่นกัน ด้วยความที่การเรียนวิศวะฯ จะมีทั้งเนื้อหาและสูตรที่ใช้ในการเรียนค่อนข้างเยอะ สำหรับผมเทคนิคที่ช่วยให้ผมเข้าใจในเรื่องที่เรียนได้เร็วและง่ายกว่าคือ การจับคอนเซ็ปต์ให้ได้ ผมจะพยายามทำความเข้าใจและมองภาพรวมให้ออกว่าเรื่องนี้เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ดังนั้น การเรียนในคณะวิศวะฯ ไม่ได้ทำให้ผมเข้าใจแค่เนื้อหาในหลักสูตรเท่านั้น แต่มันยังพาผมไปเรียนรู้การแข่งขันทำหุ่นยนต์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เนื่องจากในสาขาที่ผมเรียน จะมีกิจกรรมที่สามารถแชร์ไอเดียในการสร้างหุ่นยนต์ได้ และยังมีทุนที่คอยสนับสนุน หากอาจารย์เล็งเห็นว่าไอเดียนั้นสามารถต่อยอดได้ โดยในปี 2017 ผมและเพื่อนๆ ได้ทำหุ่นยนต์ Space Walker สิ่งประดิษฐ์สำหรับคนพิการและผู้สูงอายุ ผลงานของพวกเราได้รับรางวัลเหรียญทอง Gold Medal ในงาน i-CREATe 2017 เมืองโกเบ ที่ประเทศญี่ปุ่น ส่วนในปี 2019 ที่ผ่านมา พวกผมได้รางวัล Merit Award และ Best Prototype Award ในงาน i-CREATe 2019 ที่เมืองแคนเบอร์รา ประเทศออสเตรเลีย จากผลงานหุ่นยนต์ ReArm อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยกล้ามเนื้ออ่อนแรง ที่จะช่วยฟื้นฟูและทำให้พวกเขาสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างสะดวก เรียกได้ว่าเป็นประสบการณ์ที่ดีและสนุกมากๆ สำหรับผมเลย เพราะมันได้หยิบทฤษฎีในห้องเรียนมาลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เราเห็นภาพได้ง่ายและเข้าใจในสิ่งที่เรียนมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ การรู้จักแบ่งเวลาก็เป็นเรื่องสำคัญ ซึ่งในช่วงแรก ๆ ผมก็ยังจัดการได้ไม่ดีเท่าไหร่นัก แต่ผมก็พยายามทำทั้งสองอย่างควบคู่กันไป สุดท้ายอยากจะฝากถึงน้อง ๆ ที่กำลังจะตัดสินใจเข้ามาเรียนในคณะวิศวกรรมศาสตร์ว่า กิจกรรมก็เป็นสิ่งสำคัญพอ ๆ กับความรู้ในห้องเรียน หากได้ลองเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ พี่เชื่อว่าน้อง ๆ จะได้ประสบการณ์ดี ๆ ที่สามารถนำไปต่อยอดได้อย่างแน่นอน เรียนที่นี่ไม่ยากแบบที่คิด ไม่ต้องกังวลไปนะครับ เพราะที่นี่มีอาจารย์และรุ่นพี่ที่คอยให้คำปรึกษาเสมอครับ สำหรับน้อง ๆ TCAS63 ที่สนใจศึกษาต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. ใน TCAS รอบ 5 (รับตรงอิสระ) สามารถดูรายละเอียดและสมัครสอบได้ที่ โครงการหลักสูตร TEP-TEPE http://tupine.engr.tu.ac.th/recruitment.php และโครงการหลักสูตรนวัตกรรมทางวิศวกรรมศาสตร์ www.tupine.engr.tu.ac.th ตั้งแต่วันนี้ – 15 มิถุนายน 2563 สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ TSE โทร. 083-618-3410 หรือ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT https://engr.tu.ac.th
DPU จับมือ Chinese Plus วิทยาลัยอาชีวศึกษาอีคอมเมิร์ซกุ้ยโจว และบ. กุ้ยโจว เฉียนเยว่โยวผิ่น เปิดโครงการ ” Guijiang Workshop” และ “สถาบันอุตสาหกรรมอีคอมเมิร์ซข้ามพรมแดนจีน-ไทย” เสริมทักษะ นศ.จีน-ไทย ปั้นนักไลฟ์มืออาชีพ
เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน”