มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก tui sakrapeeNovember 5, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ เปิดรับสมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ประจำปีการศึกษา 2568 สมัครด้วยวิธีออนไลน์ ระหว่างวันที่ 1 พ.ย. – 20 ธ.ค. 67 ระดับปริญญาตรี ประเภทรับตรง 1 (วุฒิ ปวช./ปวส.) ประเภทหลักสูตรภาคสมทบ… โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz EZ Webmaster Related Posts มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: เผยภาพแรก “ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ” (FutureTales Lab by MQDC) ศูนย์วิจัยฯ เพื่ออนาคต ก่อตั้งโดยบริษัทอสังหาชั้นนำของประเทศ พร้อมต้อนรับผู้สนใจเร็ว ๆ นี้NEXT Next post: วิศวฯ ธรรมศาสตร์ ชี้เยาวชนพาร์ทไทม์ เสี่ยงอันตราย หากทำงานไม่เหมาะสม ชี้ผู้เกี่ยวข้อง ควรยึดหลัก Human Engineering Design ลดเสี่ยงบาดเจ็บสะสม-อันตรายขณะทำงาน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster July 29, 2020 EZ Webmaster July 29, 2020 ถอดบทเรียนการศึกษานิวซีแลนด์ กับมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติ การศึกษาต่อต่างประเทศ ถือเป็นความใฝ่ฝันและเป้าหมายทางการศึกษาของเด็กรุ่นใหม่ รวมไปถึงผู้ปกครองที่ต้องการวางอนาคตที่ดีกว่าให้กับบุตรหลาน ปัจจัยในการเลือกสถานที่ศึกษาต่อต่างประเทศมีหลากหลายปัจจัย ไม่ว่าจะเป็น ระบบและมาตรฐานการศึกษาที่ดี ชื่อเสียงของสถาบันการศึกษา สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ค่าใช้จ่าย โอกาสในการหางาน และอื่นๆ อย่างไรก็ตาม หลังวิกฤติการแพร่ระบาดของCOVID-19 ที่เกิดขึ้นทั่วโลกกำลังเกิดคำถามใหม่ วันนี้ถึงเวลาต้องเพิ่มอีกหนึ่งปัจจัยเข้ามาหรือไม่? โดยเฉพาะปัจจัยที่สะท้อนผ่านการรับมือวิกฤติ COVID-19 ของรัฐบาลประเทศต่างๆ รวมถึงการปรับตัวของภาคการศึกษาและตัวสถาบันการศึกษา เพราะนี่คือปัจจัยสำคัญที่จะใช้รับมือกับเหตุการณ์ไม่คาดฝันอย่าง“โรคระบาด”ของนักศึกษาไทยในต่างแดนในอนาคต ไปร่วมถอดบทเรียนการรับมือของภาคการศึกษาและมาตรการดูแลนักศึกษาต่างชาติในช่วงวิกฤติ COVID-19 ของประเทศนิวซีแลนด์ หนึ่งในประเทศที่มีมาตรฐานการศึกษาติดอันดับต้นๆของโลก ว่าเขามีวิธีบริหารจัดการอย่างไร? จัดระบบเรียนออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพ แม้ว่านิวซีแลนด์จะมีระบบการเรียนออนไลน์มาก่อนเกิดการแพร่ระบาดโรค COVID-19 แต่ในช่วงเกิดการแพร่ระบาดและรัฐบาลมีนโยบายเกี่ยวกับการเรียนออนไลน์โดยมีการจัดมาตรการตั้งแต่ประเทศเข้าสู่ระดับการเตือนภัยระดับ 4 โรงเรียนและกระทรวงศึกษาธิการกำลังทำงานเพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนทุกคนในนิวซีแลนด์มีวิธีการเข้าถึงการศึกษาอย่างน้อยหนึ่งวิธี แม้ว่าพวกเขาจะไม่มีอุปกรณ์หรือการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตที่บ้าน กระทรวงศึกษาธิการนิวซีแลนด์ได้จัดทำเว็บไซต์ขึ้นมา 3 เว็บไซต์ เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสำหรับนักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้สอนและผู้บริหารโรงเรียน ได้แก่ เว็บไซต์กลาง Learningfromhome.govt.nz เว็บไซต์ภาษาท้องถิ่นสำหรับชาวเมารี และเว็บไซต์แนะนำโปรแกรมและทำความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนทางไกล เพื่อช่วยให้การเรียนออนไลน์มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โรงเรียนร่วมสร้างแรงจูงใจการเรียนออนไลน์ด้วยการจัดตารางเรียนให้สมดุล แตกต่างจากการเรียนในห้องเรียน มีการเชิญวิยากรจากภายนอก สร้างแรงกระตุ้นให้การเรียนไม่น่าเบื่อ โดยมีการให้คำแนะนำทั้งผู้ปกครองและคุณครู กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องยังได้จัดทำฐานข้อมูลการเข้าถึงอินเตอร์เน็ตสำหรับการเรียนรู้ของโรงเรียน รวมถึงการจัดหาคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์แก่โรงเรียนที่ขาดแคลน เพื่อส่งต่อให้กับบักเรียนอย่างทั่วถึง พร้อมทั้งจัดเตรียมคู่มือออนไลน์ และชุดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนทุกคน ในกรณีที่นักเรียนไม่มารถเข้าถึงการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำ Home Learning TV ผ่านช่อง TVNZ โดยนำเสนอการเรียนผ่านช่องการศึกษาระหว่างเวลา 9.00-15.00น. และจัดพิมพ์ชุดสื่อการเรียนรู้ซึ่งส่งไปยังบางครอบครัวที่ลงทะเบียนแจ้งความจำนงไว้กับโรงเรียนต่างๆ ด้วยเช่นกัน จัดตั้งกองทุนช่วยเหลือ ดูแลนักศึกษาต่างชาติแบบคนกีวี นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในประเทศเป้าหมายปลายทางด้านการศึกษานานาชาติชั้นนำของโลก โดยในแต่ละปีประเทศนิวซีแลนด์จะมีนักเรียนนานาชาติกว่า 125,000 คน จากกว่า 100 ประเทศทั่วโลก รวมถึงนักเรียนไทยที่กำลังศึกษาอยู่ในนิวซีแลนด์มากกว่า 3,600 คน โดยประเทศไทยอยู่ในอันดับ 7 ของประเทศที่มีนักเรียนต่างชาติที่ไปเรียนต่อนิวซีแลนด์และเป็นอันดับ 2 ในภูมิภาคอาเซียน ด้วยระบบการศึกษาที่ได้รับการยอมรับในระดับสากล สภาพแวดล้อมที่ดีมีความปลอดภัยต่อนักศึกษาต่างชาติ ค่าครองชีพต่ำกว่าประเทศอื่น อีกทั้งนิวซีแลนด์ยังเป็นประเทศแรกที่มีกฎหมายคุ้มครองสำหรับนักเรียนต่างชาติ และการให้ความสำคัญกับการดูแลด้านความปลอดภัย ในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ที่ผ่านมา รัฐบาลนิวซีแลนด์ ได้จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือความยากลำบากของนักเรียนต่างชาติ เพื่อเสนอความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนด้วยเงิน 1 ล้านเหรียญดอลลาร์นิวซีแลนด์ โดยการสนับสนุนเงินช่วยเหลือแก่สถาบันการศึกษาที่รับนักเรียนต่างชาติ เพื่อจัดสรรเงินช่วยเหลือนี้แก่นักเรียนที่ต้องการความช่วยเหลือทางการเงิน หรือด้านอื่นๆ เช่น ความช่วยเหลือด้านเงินสด ค่าอาหาร และค่าครองชีพจากผลกระทบของสถานการณ์ที่เกิดขึ้น. สถาบันการศึกษาปรับตัวรวดเร็ว ขานรับนโยบาย นอกจากนโยบายภาพรวมของภาครัฐในการรับมืออย่างเร่งด่วน อีกปัจจัยที่ไม่ควรมองข้าม คือความรวดเร็ว” ในการ “ปรับตัว” เพื่อรับมือกับปัญหาของตัวสถาบันการศึกษาเอง เพราะเป็นหน่วยงานที่ติดต่อกับนักเรียนโดยตรง นางสาวช่อทิพย์ ประมูลผล ผู้จัดการตลาด หน่วยงานการศึกษานิวซีแลนด์ สถานทูตนิวซีแลนด์ ประจำประเทศไทย ได้ยกตัวอย่างสองโรงเรียน เป็นเคสตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวายเมีย(Waimea College) และโรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) โรงเรียนมัธยมวายเมีย (Waimea College) ซึ่งเป็นโรงเรียนมัธยมที่ใหญ่ที่สุดในเกาะใต้ของประเทศนิวซีแลนด์ ตั้งอยู่ในเมืองเนลสัน มีนักเรียนทั้งหมดรวม 1,600 คน และดูแลนักเรียนต่างชาติอยู่ 60 คน (จากประเทศไทย ญี่ปุ่น ฮ่องกง เยอรมนี ออสเตรีย บราซิลและสหรัฐอเมริกา) โดยทางโรงเรียนได้ปรับตัวอย่างรวดเร็ว เพื่อคุณภาพการศึกษาและไม่ให้การเรียนหยุดชะงักโดยมีมาตรการการดูแลนักเรียน อาทิ จัดตั้งการเรียนรู้ระบบออนไลน์อย่างรวดเร็ว หลังรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ นำโปรแกรมการเรียนรู้บนทีม Microsoft และใช้ Education Perfect และระบบการประชุม “Zoom” สำหรับครูผู้สอน พนักงานผู้ช่วย และนักเรียน พร้อมจัดหาคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ให้กับนักเรียนที่ขาดแคลน เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันเป็นประจำ มีทีมงานฝ่ายต่างประเทศ ดูแลนักเรียนต่างชาติ และประชุมสม่ำเสมอโดยใช้ “Zoom” และโทรศัพท์หมายเลขฉุกเฉิน เพื่อการช่วยเหลือเร่งด่วน เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนต่างชาติทุกคนจะปลอดภัย และได้รับการสนับสนุนอย่างดีจากอาจารย์ และครอบครัวอุปถัมภ์ แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คนไทยของทางโรงเรียน “ดร. กันตวัฒน์ (เคย์) สเต็ดดอน” เพื่อให้คำปรึกษากับนักเรียนไทย ผู้ปกครองและเอเย่นต์ ให้สามารถติดต่อได้ตลอด 24 ชั่วโมงหากมีข้อกังวล นอกจากนี้ยังติดตั้งการสมัครสมาชิก Raz-kids e-book สำหรับนักเรียนไทยและญี่ปุ่น ที่ไม่สามารถเดินทางไปยังโรงเรียนที่นิวซีแลนด์ได้ เนื่องจากการปิดพรมแดนชั่วคราว ดูแลทั้งด้านการเงิน และจิตใจ โดยการผ่อนปรนแบ่งจ่ายค่าเล่าเรียน และค่าโฮมสเตย์เต็มรูปแบบตลอดปีการศึกษา (พิจารณาเป็นรายบุคคล) อีกทั้งยังคำนึงถึงด้านจิตใจของนักเรียนที่ ต้องเผชิญกับความยากลำบากในช่วงล็อคดาวน์ โดยการจัดกิจกรรมและส่งเสริมสนับสนุนให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม อาทิ การจัดประชุมกลุ่มต่างประเทศออนไลน์ กิจกรรมการใช้ TikTok การแข่งขันการถ่ายภาพ ทำให้นักเรียนหลายคนรู้สึกว่า การใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์ในช่วงล็อคดาวน์ช่วยให้พวกเขารู้สึกเหมือนเป็นส่วนหนึ่งของครอบครัว และได้พัฒนาการสนทนาภาษาอังกฤษของพวกเขาได้ โดย นางสาว จุฬาลักษ์ (เย็น) แขวงแดง นักเรียนไทยของโรงเรียน Waimea ซึ่งได้รับรางวัล ESOL ในวิชาการบัญชี และสถิติ สำหรับการเป็นนักเรียนรู้ที่ดีที่สุดระหว่างช่วงล็อคดาวน์ บอกว่า “ฉันทำได้ดีในวิชาเหล่านั้น เพราะมีเวลามากขึ้น และมีสมาธิในการเรียนที่ดีขึ้นในช่วงล็อคดาวน์ อีกทั้งคุณครูให้การสนับสนุนและให้โอกาสในการโทรถามคำถามบ่อยๆ และจากเหตุการณ์นี้ทำให้ฉันได้เชื่อมโยงกับเพื่อนๆ ในโรงเรียนผ่านการประชุมกลุ่มต่างประเทศโดยใช้ Zoom และทีมงานระหว่างต่างประเทศของโรงเรียนก็จะตรวจสอบพวกเราอยู่สม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าเรามีความเป็นอยู่ที่ดีในช่วงล็อคดาวน์ ฉันได้ใช้เวลากับครอบครัวอุปถัมภ์เพิ่มขึ้น พวกเรามักจะทำอาหารด้วยกัน พ่อแม่ครอบครัวอุปถัมภ์ที่ฉันอยู่ด้วยนั้นยอดเยี่ยมมาก!” เช่นเดียวกับ นาย ที เซ็นไซ นักเรียนปีที่ 13 อีกหนึ่งนักเรียนไทยในโรงเรียน Waimea เล่าให้ฟังว่า “ผมสนุกกับการเรียนออนไลน์ ชอบทำวิดีโอ TikTok และเข้าร่วมการประชุมกลุ่มโรงเรียนทุกวันศุกร์ ผมคิดว่าโรงเรียนจัดการระบบสอนออนไลน์ได้อย่างดี และผมมีความสุขกับการใช้เวลากับแม่ที่ครอบครัวอุปถัมภ์ ผมว่าผมโชคดีมากที่ได้มีโอกาสอยู่ในประเทศนิวซีแลนด์ในช่วงระหว่างการแพร่กระจายของโรคโควิด19 ขณะที่เพื่อนคนไทยของผมส่วนใหญ่ที่ไปเรียนประเทศอื่นต้องกลับไปเมืองไทย รัฐบาลนิวซีแลนด์สามารถจัดการสถานการณ์นี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ” ด้าน โรงเรียนมัธยมไวนุยโอมาทา (Wainuiomata High School) ซึ่งเป็นโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในเมืองไวนุยโอมาทา แคว้นเวลลิงตัน มีจำนวนนักเรียนทั้งหมด 600 คน และมีนักเรียนนานาชาติรวม 20 คน ในจำนวนนี้เป็นนักเรียนไทย 1 คน ทางโรงเรียนมีแผนการรับมือเป็นขั้นๆ ตั้งแต่เริ่มมีข่าวการแพร่ระบาดของโควิด-19 ในประเทศนิวซีแลนด์และแพร่มายังเมืองเวลลิงตัน และเมื่อรัฐบาลประกาศล็อคดาวน์ประเทศ โรงเรียนก็มีการตอบสนองต่อนโยบายดังกล่าวอย่างทันท่วงทีและสอดคล้องกับแผนหลักของกระทรวงศึกษาธิการฯ โดยปรับเลื่อนการปิดภาคเรียน 1 มาเร็วขึ้น 2 สัปดาห์ และจัดตั้งข้อกำหนดและรูปแบบการดำเนินการที่เรียกว่า“Lockdown Policy” ที่ทีมงานทุกภาคส่วนยึดถือปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกัน ซึ่งประกอบด้วย: ประสานจัดการส่งคอมพิวเตอร์แล็ปท็อปของโรงเรียนให้กับนักเรียนทุกคนที่ไม่มีอุปกรณ์ดังกล่าวของตนเอง เพื่อให้นักเรียนมีความพร้อมสำหรับการเรียนออนไลน์ในช่วงเปิดภาคเรียนที่ 2 ที่จะเริ่มในระหว่างกึ่งกลางล็อคดาวน์ ให้การดูแลนักเรียนแบบองค์รวมที่เรียกว่า “Pastoral Care” โดยเน้นการติดตามดูแลนักเรียนอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่องเป็นพิเศษ แม้ต้องทำผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ Pastoral Care for International Students ประกอบด้วยการทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ 4 ส่วน คือ Student’s Holistic Well-being โดยมี Student Manager เฝ้าดูแลติดตามเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนทุกคนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี แข็งแรง มีความสุข ไม่โดดเดี่ยว ผ่านการแชทและวิดีโอคอลเป็นรายบุคคลกับนักเรียน พร้อมทำงานร่วมกันอย่างใกล้ชิดกับ School Counselor หรือนักจิตวิทยาประจำโรงเรียน พร้อมสร้างกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ทุกเที่ยงวันพุธ เรียกว่า Wednesday Fun Lunch Meeting ให้นักเรียนต่างชาติทุกคนร่วม Video Meeting เพื่อทำกิจกรรมสนุกๆ Student’s Happy Homestay โดยมี Homestay Coordinator เฝ้าดูแลติดตามประสานงานกับโฮมสเตย์ทุกครอบครัว และจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ออนไลน์ เช่น What’s Cooking ชวนเหล่าครอบครัวโฮมสเตย์มาแชร์สูตรอาหารและทำอาหารร่วมกันผ่านวิดีโอคอล โดยมีนักเรียนร่วมกิจกรรมด้วย Student’s Academic Achievement โดยมี Assistant International Dean เฝ้าดูแลติดตามนักเรียนเป็นรายบุคคลและรายกลุ่มผ่านการแชทและการวิดีโอคอลเป็นประจำอย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้นักเรียนมั่นใจว่าจะได้รับการดูแลช่วยเหลือเสมอและทันท่วงที หากมีข้อติดขัดสงสัยในการเรียน ประสานจัดการให้นักเรียนไทยที่ติดค้างอยู่ในประเทศไทยและยังไม่สามารถเดินทางเข้ามาในประเทศนิวซีแลนด์ได้ สามารถเรียนผ่านระบบออนไลน์ของโรงเรียนอย่างเป็นระบบร่วมกับนักเรียนอื่นๆ ของโรงเรียน และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิดและอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนสามารถเรียนทัน และได้รับการดูแลจากครูที่ปรึกษาและครูประจำรายวิชาทุกคน ที่สำคัญ นักเรียนไทยยังได้รับการดูแลในระบบ Pastoral Care จาก Student Manager ของโรงเรียนซึ่งเป็นคนไทยอย่างใกล้ชิด เพื่อให้แน่ใจว่านักเรียนมีสุขภาพกาย-ใจที่ดี โดยนางสาวกฤติญา อารักษ์คุณากร อายุ 19 ปี นักเรียนไทย Year 13 ได้กล่าวเสริมว่า“ส่วนตัวรู้สึกว่ารัฐบาลนิวซีเเลนด์รับมือกับโควิด-19 ได้ดีมาก ส่วนโรงเรียนก็ให้ความช่วยเหลือเรามากๆ ค่ะ พอดีเรายังติดอยู่เมืองไทย ยังเดินทางกลับไปนิวซีแลนด์ไม่ได้เนื่องจากโควิด-19 แต่เราก็สามารถเรียนออนไลน์ได้ โดยมีคุณครูคนไทย (ครูศิริ – พัทธนันท์ ศิริสิงห์อำไพ) ที่นิวซีแลนด์คอยช่วยเหลือเราในหลายเรื่อง ทั้งออนไลน์มาพูดคุยช่วยให้ไม่เหงา ทั้งช่วยอัพเดพเรื่องเรียนและอื่นๆ ด้วยค่ะ” ที่กล่าวมาเป็นตัวอย่างเพียงส่วนหนึ่งในการปรับตัวของภาคการศึกษานิวซีแลนด์ ซึ่งจากเหตุการณ์ครั้งนี้ คงเป็นอีกหนึ่งบทพิสูจน์ว่าทำไมนิวซีแลนด์ ถึงเป็นประเทศที่มีระบบการศึกษาอันดับต้นๆของโลก โดยได้รับการจัดอันดับเป็น 1 ใน 3 ของประเทศที่เตรียมความพร้อมนักเรียนสู่อนาคตที่ดีที่สุดในโลก และได้รับการจัดอันดับเป็น 1 จากประเทศที่พูดภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลัก จากกรจัดอันดับของ Worldwide Educating for the Future Index 2019 โดยThe Economist Intelligence Unit สนใจข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการศึกษานิวซีแลนด์ ดูได้ที่ www.studyinnewzealand.govt.nz
มทร.กรุงเทพ เปิดรับครั้งใหญ่ ปีการศึกษา 2568 TCAS1 Portfolio – รับตรง 1 (ปวช./ปวส.) – ภาคสมทบ1 และระดับปริญญาโท-เอก