กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี… ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่… นักศึกษา 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี… ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่… นักศึกษา 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี… ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่…
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่…
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี .
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี .
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th
สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ EZ Webmaster Related Posts กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: อาชีวะพัฒนาฝีมือบุคลากร สาขาช่างแอร์ ร่วมกับ บริษัท อีมิแน้นท์แอร์ (ประเทศไทย) จำกัดNEXT Next post: สวนสุนันทาเเต่งตั้งคณะผู้บริหารเสริมทีมขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… Search for: Search
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ…
คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ…
EZ Webmaster November 17, 2020 EZ Webmaster November 17, 2020 เทคนิคการติวออนไลน์ในยุค New Normal สวัสดีคร้าบบบบ น้องๆ ที่น่ารักทุกคนกับมาพบกันอีกครั้งกับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับการศึกษาในยุค New Normal ในบ้านเรากัน โดยแอดมินมีโอกาสไปสัมภาษณ์ติวเตอร์ชื่อดังในโครงการ Sahapat Admission ครั้งที่ 23 นั้นก็คือครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ และครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล เกี่ยวกับการปรับตัวสำหรับการติววิชาต่างๆ ในยุค New Normal ว่าควรจะทำอย่างไร และทางพี่ๆ ติวเตอร์มีการวางแผนและปรับตัวอย่างไรบ้าง เราไปเจอบทสัมภาษณ์แบบ Exclusive พร้อมกันได้เลยครับ การติวแบบใหม่ของติวเตอร์แต่ละท่านมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิม จากเมื่อก่อนอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – คือตอนนี้ ในปีนี้เลยที่โควิดระบาดการที่จะให้เด็กนั่งรวมกันที่หอประชุม ก็เป็นการยากนะคะ เพราะว่า ด้วยมาตรการป้องกันต่าง ๆ ทางโครงการก็เลยปรับรูปแบบให้กลายเป็นติวออนไลน์ อยู่ไหนก็ติวได้ ซึ่งถามว่าสะดวกไหม ก็สะดวกกับเด็กแล้วก็สะดวกกับคุณครูด้วยนะคะ เพราะว่าเราก็จะเป็นการติว ถามว่ามันต่างจากแบบเดิมไหม ปรับมากไหม ก็คือน้องก็จะสามารถส่งคำถามร่วมสนุกหรือว่าอะไรกับเราได้ทาง Live แชทค่ะ ครูพี่เกศ – ปกติแล้วเด็กก็จะเจอครูหรือว่าติวเตอร์แบบตัวต่อตัว เด็กส่วนใหญ่ชอบเรียนสดคือสมัครคอร์สเรียนมา จะได้มาเจอตัวเป็น ๆ มีข้อสงสัยอะไรจะได้ถามเราได้เลย เขาจะรู้สึกว่าอินกับบรรยากาศในการเรียนมากกว่า แต่ว่ายุคใหม่นี้มันเปลี่ยนเป็นออนไลน์ ถามว่ามันมีความเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอนแรกเด็กก็จะรู้สึกว่าไม่เข้าใจ รู้สึกว่ามันต้องไม่ดีแน่ ๆ เลย เรียนกับสื่อ เรียนกับวิดีโอ เพราะไม่ได้เจอติวเตอร์ตัวเป็น ๆ แต่พอเด็กได้มาลองเรียนจริง ๆ แล้ว จะพบว่าการถามตอบมันยังคงเดิม เปลี่ยนจากการพูดถามเป็นการพิมพ์ถาม แล้วบางครั้งมันอาจจะดีกว่าด้วยซ้ำ อย่างเช่น บางวิชาเด็กสามารถถ่ายรูปส่งมาได้ เพราะว่าโปรแกรมทุกวันนี้มันมีหลากหลาย บางครั้งไม่ต้องพิมพ์ถามก็ได้นะ อย่างโปรแกรมบางอันที่สามารถเปิดไมค์แล้วพูดออกมาได้เลย แล้วติวเตอร์ก็สามารถตอบไปได้เลยะ ก็ไม่ได้แตกต่างมากสุดท้ายแล้วเด็กก็รู้สึกว่ามันสนุกไปอีกแบบ ครูพี่หนู – กฤติกา ปาลกะวงศ์ การที่น้องอาจจะไม่เห็นหน้าเรา เราพอจะมีวิธีการเทคนิคอย่างไรช่วยให้น้องทำได้ดีกว่าเดิม ? ครูพี่หนู – สำหรับหนูเองนะคะ หนูใช้เสียง เสียงจะขึ้น ๆ ลง ๆ ใช้เสียงแหลมตลอดในการติว เพราะว่า 1 ก็จะทำให้น้องตื่นตัวตลอด บางช็อตที่น้องเห็นแต่จอไม่เห็นหน้าเราด้วย ก็จะใช้เสียงในการดึงเด็กแล้วก็เป็นการเล่าเรื่อง บรรยายเรื่อง ให้มันเข้ากับเนื้อหาที่เรากำลังสอนอยู่ ครูพี่เกศ – การเอาสื่อที่น่าสนใจ การเล่นที่สีหน้า น้ำเสียง หรือการจูงใจในเรื่องของเกม การตอบคำถาม ให้เด็กรู้สึกว่าไม่ได้มานั่งฟังกับจอเฉย ๆ แต่เป็นการที่มีอะไรร่วมสนุกได้ พิมพ์ตอบได้นะ จะมีการส่งของรางวัลไปที่บ้านนะ เพื่อให้เด็กรู้สึกว่าเราสามารถมีปฏิกิริยากับติวเตอร์ได้เหมือนอยู่ในสถานการณ์ห้องจริง ไม่ได้มีความแตกต่างเหลื่อมล้ำทุกคนมีความเท่าเทียมกันหมด ก็สนุกไปอีกแบบ คิดว่าการติวแบบนี้มีข้อดีอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ถามว่ามันดีไหม ก็คือมันดีสำหรับน้อง ๆ ทุกคน เพราะน้อง ๆ อยู่ที่ไหนก็ติวได้ อยู่ไกลแค่ไหนก็ติวได้ สำหรับพื้นที่ห่างไกลขอแค่มีสัญญานอินเตอร์เน็ต น้องก็สามารถติวได้หรือว่าน้องก็สามารถดูย้อนหลังได้ ดูซ้ำได้ เป็นการดีสำหรับน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – ข้อดีคือเด็กเก็นหน้าเราชัด เห็นใกล้ เห็นเสียงเราชัด สื่ออลัง ปกติถ้าเด็กนั่งติวในหาประชุมหรือในโรงเรียน หรือไกล ๆ แบบนี้ เขาก็จะมองเอคติ้งเราไม่ค่อยถนัด โปรเจกเตอร์บางทีเด็กหลัง ๆ มองไม่เห็น การติวแบบนี้คือจอมันชัด เลยรู้สึกว่าสุดท้ายแล้วมันน่าสนใจกว่าด้วยซ้ำ พอเรามาลองจริง ๆ แล้วภาพก็ชัด สื่อก็ชัด เสียงอะไรแบบนี้ได้เลยเต็มที่ ไม่ค่อยแตกต่างขนาดนั้นสุดท้ายแล้วอยู่ที่ความสนใจ ในปัจจุบันนี้เด็กก็จะเปลี่ยนไปหลายยุค แล้วเด็กยุคก่อนกับยุคนี้มีความสนใจในการติวแตกต่างกันอย่างไร ? ครูพี่หนู – ด้วยความสนใจน่าจะไม่ได้แตกต่างกัน แต่รูปแบบในการติวในการเข้าถึงสื่ออาจจะเปลี่ยนไป เพราะว่าตอนนี้มีสื่อฟรีเยอะ มีสื่อออนไลน์เยอะ ก็จะสามารถเข้าถึงสื่อพวกนี้ได้มากกว่าเด็กรุ่นเก่า ๆ ที่ยังไม่มีสื่อเข้าถึง ต้องรอติวเตอร์ไปติว หรือว่าต้องเข้ามาเรียนพิเศษ ครูพี่เกศ – เด็กสมัยก่อนคิดว่า จำเป็นต้องแข่งขัน จำเป็นต้องสอบ ต้องใส่ใจอ่านหนังสือมาก ๆ เพื่อจะเข้ามหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงให้ได้ แต่เด็กทุกวันนี้มีความรู้สึกว่าเรียนี่ไหนก็ได้ ไม่ต้องแข่งขัน รู้สึกว่าไม่จำเป็น ขอแค่มีเงินแล้วก็ไปเรียนเอกชนก็ได้ แนวคิดนี้มันอันตรายนะ คือเรามีหน้าที่สร้างความเข้าใจให้เด็ก ไม่ใช่ว่าเรียนที่ไหนมันเหมือนกัน เพราะถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ต้องมาติว ถ้าเหมือนกันจริงคงไม่ได้มากวดวิชา เรียนพิเศษ เพราะสุดท้ายปลายทางมันไม่เหมือนกัน เราก็มีหน้าที่ในการบอกเด็กว่ามันต่างกันอย่างไร แล้วทำไมต้องมีการสอบเข้า ทำไมต้องมีการแข่งขัน เราต้องสร้างความเข้าใจให้เขา เขาแค่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงสำคัญ เด็กไม่เข้าใจว่าทำไมต้องแข่ง แข่งกันทำไม สอบเข้าไปแล้วมหาวิยาลัยนี้ กับมหาวิทยาลัยนี้มันต่างกันอย่างไร ครูพี่เกศ – เกศจิรา บุญตระกูล ปัจจุบันนี้ น้อง ๆ เลือกติวเป็นแต่ละวิชาหลัก ๆ เน้น ๆ บางคนเลือกที่จะทิ้งบางวิชาเพื่อจะไปทุ่มกับอีกวิชา พี่ๆ มีความคิดเห็นอย่างไรบ้าง ? ครูพี่หนู – ความจริงภาษาอังกฤษก็เป็นวิชาที่เป็นหัวใจหลักอยู่แล้ว ทั้งวิทย์ ทั้งศิลป์ เพราะว่าบางทีน้องสายวิทย์อาจจะรู้สึกว่า ตัวเองต้องโฟกัสแต่วิทย์ – คณิตฯ แต่ความจริงแล้วภาษาอังกฤษนี้เป็นตัวที่ตัดแต้มเด็ก ใครทำภาษาอังกฤษได้เยอะจะทำให้คะแนนเขาพุ่งมากขึ้น หรือว่าสามารถมีทางเลือกในการเข้าคณะมากขึ้น แล้วก็จะชูให้เห็นว่า ถ้าน้องได้ภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น น้องทำได้ดีขึ้น โอกาสทางเลือกของน้องก็จะมากขึ้นกว่าที่น้องได้อยู่แล้ว น้องก็อาจจะมีช้อยส์ มีทางเลือกในคณะที่เพิ่มมากขึ้น มีโอกาสยื่นคะแนนมากขึ้น ครูพี่เกศ – คำถามนี้ดีมากเลยค่ะ เพราะมันคือโดยเฉพาะวิชานี้เลยพี่เกศสอนวิชาภาษาไทย ภาษาไทยถ้าเป็นเด็กศิลป์จะไม่ทิ้งหรอกค่ะ เพราะเขารู้สึกว่ามันคือภาษา แต่ถ้าเกิดเด็กวิทย์เริ่มปัญหา จะรู้สึกว่าภาษาไทยอ่านเองได้ อ่านออกเข้าใจได้ แต่จริง ๆ อยากจะบอกว่า ภาษาไทยเป็นวิชาโกยคะแนนที่ดีมากเป็นอันดับหนึ่ง ถ้าดูค่าเฉลี่ยของคะแนนภาษาไทยจะโดมาเป็นอันดับหนึ่งเลย เนื่องจากว่ามันอ่านออกทุกคน แต่ว่าจะทำทันหรือเปล่าเป็นอีกเรื่อง เนื่องจากว่าจำนวนข้อสอบมันเยอะและถ้าเกิดเด็กไม่มีเทคนิคในการทำแต่ละข้อ ด้วยความรวดเร็ว แม่นยำ ยังไงเด็กก็พลาด แล้วบางครั้งเด็กเข้าใจว่าสิ่งที่เขาเข้าใจอยู่มันถูก แต่จริง ๆ แล้วมันผิดมาโดยตลอด อย่างเช่นคำนี้ อ่านแบบนี้ แต่จริง ๆ แล้วอ่านแบบนี้เด็กเพิ่งจะมารู้หลังจากออกจากห้องสอบแล้ว อ้าว! จริงหรอ! คือตอนที่ตอบมั่นใจมากเลยนะ มั่นใจว่าตอนสอบทำได้ทุกข้อ แต่แปลกมากว่าภาษาไทยไม่เคยมีใครได้คะแนนเต็ม เหตุผลเพราะความเข้าใจยังผิด ๆ กันอยู่ เราก็ต้องมาบอกเด็กว่าข้อสอบจะออกแนวนี้นะ แล้วมันจะหลอกเราแบบนี้นะ เราเก็งให้เขาเลยค่ะ เชื่ออย่างหนึ่งว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง เหมือนกันค่ะ ติวเยอะก็ไม่เท่ากับการติวตรง ดังนั้นถ้าเกิดเด็กมาฟังเราจริง ๆ เด็กจะประหยัดเวลาในการอ่านหนังสือเยอะมาก ชั่วโมงหนึ่งเท่ากัน เด็กคนหนึ่งอ่านในสิ่งที่ข้อสอบไม่ออก ในขณะที่อีกคนหนึ่งรู้ว่าข้อสอบจะออกอะไร แล้วใช้เวลาหนึ่งชั่วโมงนั้นอ่านในสิ่งที่จะออก ผลลัพธ์มันต่างกัน แล้วภาษาไทยอย่าทิ้งค่ะ ยกตัวอย่าง O-NET ในทุกรายวิชาเฉลี่ยรวมกัน 9,000 คำแนน ในสนามสอบ TCAS Admission เขาไม่ได้มาบอกว่าเด็กวิทย์ต้องเก่งวิทย์สุด เด็กศิลป์ภาษาต้องเก่งภาษาอังกฤษสุดประมาณนี้ ในสามารถทำวิชาอะไรก็ได้เพื่อให้ตัวเองเอาตัวรอด และมีคะแนนสูงคะแนนตุนเยอะที่สุดใน 9,000 นั้น เลยอยากเชียร์ให้เด็กเอาภาษาไทยไปเป็นส่วนหนึ่ง ในการตุนคะแนน สุดท้ายอยากจะให้ฝากเทคนิคการเตรียมตัว สำหรับการสอบทุกวิชา ทุกสนามสอบ ? ครูพี่หนู – ในส่วนของพี่หนูนะคะ เป็น reading ส่วนใหญ่ reading พี่หนูก็จะให้จับ Keyword แล้วก็จะพยายามไม่ให้น้องแปลเยอะ จะให้น้องแปลคำที่น้องแปลออกแล้วก็ใช้จินตนาการเดาเนื้อเรื่องว่า ที่น้องแปลออก อย่างมีคำว่า มด มีคำว่า สัตว์ แล้วมดเป็นอาหารของสัตว์ตัวนี้ เราก็จะให้น้องเดาต่อว่ามันน่าจะเป็นตัวอะไร ตัวอะไรที่กินมดบ้าง อะไรบ้างแบบนี้ค่ะ จะหา Keyword ให้กับเด็ก จะให้เด็กจินตนาการต่อ ส่วนใหญ่พี่หนูจะไม่ได้สอนให้น้องแปลทั้งเรื่อง เพราว่า พอเขาเข้าห้องสอบจริง ๆ เขาก็จะไม่เจอเรื่องที่พี่หนูสอน เขาก็จะเจอเรื่องอื่นไปอีก แต่เราจะทำให้เขาชินกับระบบความคิดว่า เขาต้องหาคำศัพท์สัก 2 – 3 คำที่เขาแปลออก แล้วก็จินตนาการเนื้อเรื่องไป เพราะว่าเรื้อเรื่องมันก็คือเรื่องรอบตัวของเรา มันไม่ได้หนีห่างหรือว่าไกลตัวน้อง มันเป็นเรื่อง Daily Use Daily Life ตลอด ที่มันอยู่รอบตัวน้อง ๆ อยากให้เขาจินตนาการแล้วก็ค่อย ๆ ไม่อยากให้เขามองว่า เจอศัพท์อ่านไม่ออกแปลไม่ได้แล้วเขาจะทำข้อสอบได้ และอีกอย่างที่ควรทำคือ โหลดข้อสอบเก่ามาทำ เพราะว่าข้อสอบในอนาคตก็จะออกในข้อสอบเดิม เพราะฉะนั้นแนวทางในการออกข้อสอบเขาก็จะออกแนวเดิม มันไม่ได้เปลี่ยนหรือหนีกันมาก แต่ถ้าเมื่อไหร่ที่น้องไม่ได้ฝึกทำโจทย์ น้องก็จะไม่คุ้นชินกับคำถามหรือว่ากับสไตล์การถาม หรือว่าเนื้อเรื่องที่ผู้ออกข้อสอบเขาเลือก ก็อยากจฝากน้อง ๆ ให้น้อง ๆ ทำข้อสอบเก่าเยอะ ๆ เพราะยังมีเวลาเตรียมตัวอยู่ มีเวลาเพิ่มเติมก็ดูสื่อฟรี ดูช่องฟรีที่พี่ ๆ ติวเตอร์ทั้งหลายก็ได้สอนน้อง ๆ ค่ะ ครูพี่เกศ – จริง ๆ คือการวางแผน เด็กที่สอบติดเข้าไปไม่ใช่เด็กเก่งทุกคนนะคะ แต่เป็นเด็กที่เรียนรู้หรือวางแผนอะไรมาก่อน อย่างที่บอกว่า scope ในการออกข้อสอบเด็กต้องศึกษาก่อนนะว่าคณะที่ตัวเองจะเข้า เราสอบอะไรบ้าง แล้ววิชานั้นมันสอบแค่หัวข้อไหนประมาณไหน ก็ยังคงยืนยันคำเดิมว่าอ่านเยอะไม่เท่ากับอ่านตรง ขอให้น้องวางแผนการที่จะสอบเข้าก่อน แล้วก็เตรียมตัวอ่านเฉพาะที่จะออกสอบ เพราะว่าในเวลาอันจำกัดนี้เด็กมีหน้าที่ในการอ่านเพื่อไปสอบแล้ว ต้องยอมรับอย่างหนึ่งว่าอ่านเพื่อไปเอาคะแนน เพื่อไปสอบให้ติด แล้วทีนี้เด็กจะไปเพิ่มพูนความรูอะไรนอกเหนือจากนี้ ค่อยหลังจากสอบติดก็ได้ เพราะเจาะจงจากสิ่งที่ตัวเองติดเข้าไปแล้ว แล้วค่อยไปต่อยอดเพิ่มเอา แต่ทุกวันนี้เด็กต้องเอาตัวรอดให้ได้ คือ การอ่านในสิ่งที่ข้อสอบจะออกแล้วไปสอบให้ติดก่อน เจาะให้ตรงค่ะ เป็นอย่างไรกันบ้างกับบทสัมภาษณ์ขอพี่ๆ ติวเตอร์ทั้ง 2 ท่าน แอดมินหวังเหลือเกินว่าถ้าหากน้องๆ นำไปปรับใช้แล้วจะช่วยให้สมหวังทุกประการ กับการเรียนต่อในมหาวิทยาลัย หรือคณะที่เราต้องการต่อไปนะครับ แล้วมาพบกันใหม่กับเรื่องราว สารดีๆ แบบนี้ สำหรับวันนี้ สวัสดีและโชคดีกับการสอบทุกคนนนะคร้าบบบบบ
กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น
CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด!
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568