มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี… นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี… นักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี…
CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี…
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ…
นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th
สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน”
กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น
CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด!
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568