นิทรรศการตลาดนัดหลักสูตร โครงการ “เลือกแนวทาง…วางอนาคต”ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ครั้งที่ 27 EZ WebmasterNovember 17, 2024 เปิดให้ลงทะเบียนแล้ว OPEN HOUSE 2024 ม.เกษตรศาสตร์ บางเขน ครบทุกคณะ . กำหนดการ : 19-20 ธันวาคม 67 วิทยาเขต : บางเขน ค่าใช้จ่าย :… มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
“ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th EZ Webmaster Related Posts ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ Post navigation PREVIOUS Previous post: เชิญครูเข้าร่วมอบรมออนไลน์ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะครูยุคใหม่สู่การเรียนรู้แบบบูรณาการ” ในวันที่ 18 ก.ค.นี้NEXT Next post: มูลนิธิเอเชียฯ ร่วมกับสถานทูตออสเตรเลีย จัดทำเว็บไซต์ Thailand Learning ส่งเสริมการศึกษาที่ต่อเนื่องให้เด็กไทย Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search
ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
EZ Webmaster July 8, 2021 EZ Webmaster July 8, 2021 ทําสําเร็จ !! สจล. เปิดตัว “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” พร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ ราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ทำสำเร็จครั้งแรก! เปิดตัวต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูง ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล ได้รับการออกแบบมาเพื่อรับมือโควิดระลอกใหม่โดยเฉพาะ และมีราคาถูกกว่านําเข้า 3-4 เท่า โดยระบบดังกล่าวมีจอแอลซีดีแสดงข้อมูลสำคัญของผู้ป่วย ทั้งอัตราการไหลของอากาศ ปริมาณออกซิเจน อุณหภูมิของอากาศ ผลออกซิเจนในกระแสเลือด ฯลฯ ซึ่งนอกจากจะมีประสิทธิภาพในการช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วยปอดอักเสบ และภาวการณ์หายใจบกพร่อง ยังช่วยให้แพทย์ติดตามภาวะการหายใจล้มเหลวได้ตลอดเวลา สามารถปรับการทำงานของเครื่องได้ โดยไม่ต้องเข้าไปดูผู้ป่วยถึงเตียง หนุนเพิ่มความปลอดภัยในการทำงาน ลดความเสี่ยงในการติดเชื้อในพื้นที่เสี่ยงของบุคลากรทางการแพทย์ ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนในการพัฒนาที่ 55,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th ศ. ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) เปิดเผยว่า สจล. ได้เดินหน้าพัฒนานวัตกรรมทางการแพทย์เพื่อรองรับวิกฤตโควิด-19 นับตั้งแต่ระลอกแรกจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะการคิดค้นและลงมือสร้าง “เครื่องช่วยหายใจ” ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งในผู้ป่วยอาการหนัก ผ่านการผนวกรวมศาสตร์ความรู้ทางการแพทย์และวิศวกรรม โดยเริ่มที่เครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉิน (Mini Emergency Ventilator) เพื่อรองรับผู้ป่วยติดเชื้อในปอดในภาวะฉุกเฉิน ทั้งอยู่ระหว่างการส่งตัวหรือรอเข้ารับการรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจของโรงพยาบาล และต่อเนื่องกับเครื่องช่วยหายใจในภาวะฉุกเฉินขนาดเล็ก (Transport Ventilator – KNIN) ที่ออกแบบให้สามารถใช้งานง่าย สะดวกต่อการเคลื่อนย้ายในกรณีฉุกเฉิน อีกทั้งยังรองรับการทำงานได้หลายโหมด ซึ่งในปัจจุบันได้พัฒนาออกมารวม 4 รุ่น ทั้งนี้ ที่ผ่านมา สจล. ได้ส่งมอบนวัตกรรมทางการแพทย์แก่โรงพยาบาลและหน่วยงานสาธารณสุขทั่วประเทศมากกว่า 350 แห่ง เป็นจำนวนกว่า 1,000 ชิ้น ล่าสุด นักวิจัย สจล. ได้คิดค้นและพัฒนาต้นแบบ “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงเป็นครั้งแรก ที่มาพร้อมระบบมอนิเตอร์ทางไกล มุ่งลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโควิด-19 ให้น้อยลง ลดภาระงานและลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อของบุคลากรทางการแพทย์ที่ต้องเดินเข้า-ออกบริเวณหอผู้ป่วย ให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ในส่วนอื่นได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และในอนาคตอันใกล้นี้ สจล. ยังมีแผนพัฒนา “ตู้เก็บวัคซีน” ที่สามารถควบคุมอุณหภูมิและคงประสิทธิภาพของวัคซีน โดยที่บุคลากรทางการแพทย์หรือเจ้าหน้าที่สามารถติดตามอุณหภูมิภายในตู้ได้ 24 ชั่วโมง ซึ่งนับเป็นการตอกย้ำวิสัยทัศน์ของสถาบัน ในฐานะ The World Master of Innovation สู่การขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขและการแพทย์ไทย ภายใต้แนวคิด “ไทยทำ ไทยใช้ ไทยรอด” เพื่อให้คนไทยทุกคนสามารถผ่านพ้นวิกฤตนี้และเริ่มต้นใช้ชีวิตวิถีใหม่ไปพร้อมกัน นพ.อนวัช เสริมสวรรค์ รองคณบดี คณะแพทยศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) นักวิจัยร่วม “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” กล่าวเสริมว่า เครื่องดังกล่าวมีคุณสมบัติเพื่อช่วยพยุงการหายใจของผู้ป่วย โดยแพทย์จะกำหนดอัตราไหลเวียนอากาศ ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ต้องการ ควบคุมอุณหภูมิและความชื้น ก่อนปล่อยผ่านทางจมูก (Nasal Cannula) ได้อย่างเหมาะสมและสม่ำเสมอ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับอากาศที่มีความเข้มข้นของออกซิเจนที่แน่นอน ถูกต้อง ป้องกันการหายใจซ้ำจากอากาศที่ค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบน ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐานเครื่องจ่ายออกซิเจนอัตราการไหลสูง อีกทั้งยังมีความพิเศษเพิ่มเติม คือ ได้พัฒนาเทคโนโลยีไอโอที (IoT) เข้ามาทำงานร่วม ซึ่งช่วยให้บุคลากรทางการแพทย์สามารถควบคุม และติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วยทางไกลได้ตลอดเวลา โดยสามารถปรับเปลี่ยนการช่วยการหายใจได้ทันทีผ่านแอปพลิเคชัน โดยไม่ต้องเดินไปถึงข้างเตียง ซึ่งนอกจากจะประเมินผู้ป่วยได้ตลอดเวลา ยังลดการใช้ชุด PPE และลดความเสี่ยงของบุคลากรต่อการติดเชื้อทางอากาศเมื่อเดินเข้าหอผู้ป่วย นอกจากนี้ เครื่องดังกล่าว ยังมาพร้อมระบบเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้ป่วยมีภาวะออกซิเจนต่ำเกินไป “และในอนาคตอันใกล้ ทีมวิจัยเตรียมพัฒนาเครื่องดังกล่าว ให้สามารถวิเคราะห์หรือปรับความความเข้มข้นของออกซิเจนได้ ตามการเปลี่ยนแปลงของภาวะออกซิเจนในเลือด ซึ่งเป็นแนวคิดที่จะใช้ระบบปัญญาประดิษฐ์ (AI : Artificial Intelligence) ในเครื่องมือแพทย์อนาคตของ สจล. ทุกชิ้น เพื่อรองรับการแพทย์ทางไกล (Telehealth)” รศ. ดร.สมยศ เกียรติวนิชวิไล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ลาดกระบัง (สจล.) กล่าวต่อเนื่องว่า การพัฒนา “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” เน้นการออกแบบให้ ตอบโจทย์การใช้งานได้ทั้งในโรงพยาบาลสนามและโรงพยาบาลเฉพาะทาง โดยมีหลักการนำอากาศจากแหล่งกำเนิดออกซิเจนไม่ว่าจะเป็นท่อนำออกซิเจนหรือแทงค์ออกซิเจน 100% มาผสมกับอากาศสะอาด (ออกซิเจน 21%) ผสมกันได้ความเข้มข้นที่ต้องการในห้องผสมอากาศ (Air Tank) โดยหากใช้อากาศจากในหอผู้ป่วยก็จะมีแผ่นกรองอากาศ HEPA Filter ซึ่งเมื่ออากาศถูกดูดเข้าสู่ห้องผสมอากาศ จะมีวาล์วจ่ายออกซิเจนที่ถูกควบคุมแบบป้อนกลับเพื่อควบคุมให้อัตราออกซิเจนคงที่เป็นไปตามการรักษา โดยปรับได้ในช่วง 21-100% ความแรงของพัดลมจะถูกควบคุมด้วยเซนเซอร์วัดอัตราการไหล ซึ่งจะถูกควบคุมให้อยู่ในช่วง 10-80 ลิตรต่อนาที นอกจากนี้ ค่าพารามิเตอร์ดังกล่าว สามารถตั้งค่าได้ทั้งทางหน้าจอแอลซีดี (LCD) แบบสัมผัส (Touch Screen) และแอปฯ ผ่านการเชื่อมต่อด้วยระบบ Wi-Fi ทั้งนี้ เครื่องดังกล่าวมีต้นทุนการพัฒนาที่ 55,000 บาท ซึ่งถูกกว่าการนําเข้า 3-4 เท่า หรือประมาณ 200,000 – 300,000 บาท โดยปัจจุบันมีความพร้อมในการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการยื่นจดสิทธิบัตรสู่เชิงพาณิชย์กับสำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) ด้าน รศ. นพ.ประเสริฐ ตรีวิจิตรศิลป์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) และผู้อํานวยการโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร (KMCH) กล่าวทิ้งท้ายว่า จากรายงานตัวเลขผู้ป่วยโควิดสะสมในประเทศไทยที่สูงถึง 254,204 ราย (ตั้งแต่ 1 เมษายน 2564) โดยส่วนหนึ่งเป็นผู้ป่วยอาการหนัก 2,147 ราย ผู้ป่วยที่ต้องใส่เครื่องช่วยหายใจ 616 ราย และมีผู้เสียชีวิต 44 ราย (ที่มา: กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข (สธ.), วันที่ 4 กรกฎาคม 2564) ซึ่งมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยผู้ป่วยทุก ๆ 1 พันรายจะมีการใช้เครื่องช่วยหายใจ 30 ราย ทำให้ต้องการใช้เครื่องช่วยหายใจและเตียงผู้ป่วยวิกฤตจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะขณะนี้ที่มีความขาดแคลนอย่างหนัก อีกทั้งการใช้เครื่องจ่ายออกซิเจนในอัตราการไหลสูงสำหรับผู้ป่วยสถานะสีแดงถึงแดงเข้ม คือ เสี่ยงต่อการหายใจล้มเหลวจนต้องใช้เครื่องช่วยหายใจ จะยังสามารถพยุงการหายใจโดยผู้ป่วยสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง ในรายที่พยาธิสภาพปอดดีขึ้นจะลดระดับการให้ออกซิเจนในรูปแบบของหน้ากากหรือท่อจมูกตามปกติ ซึ่งลดความจำเป็นของการใช้เตียงผู้ป่วยวิกฤต ดังนั้น หากผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมทางการแพทย์ ที่คิดและพัฒนาโดยนักวิจัยจากภาคการศึกษาไทย ได้รับการสนับสนุนงบฯ ลงทุนจากภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการผลิตและกระจายสู่โรงพยาบาลหรือหน่วยงานสาธารณสุขที่มีความขาดแคลน จะสามารถช่วยลดมูลค่าการนําเข้าได้จำนวนมาก พร้อมทั้งสร้างโอกาสการเข้าถึงการรักษาพยาบาลของคนไทยในอนาคต สำหรับหน่วยงานภาครัฐ-เอกชน ตลอดจนภาคประชาชนที่สนใจ สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนระบบสาธารณสุขไทยให้รุดหน้ายิ่งขึ้นในภาวะวิกฤตโควิด-19 ผ่านการบริจาคเงินเข้าบัญชีธนาคารกรุงไทย สาขาเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯลาดกระบัง ชื่อบัญชี “มูลนิธิโรงพยาบาลพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร ในพระสังฆราชูปถัมภ์ เพื่อสู้ภัยโควิด” เลขที่ 693-0-35455-4 โดยผู้บริจาคสามารถนําใบเสร็จไปขอลดหย่อนภาษีได้ 1 เท่า ผู้สนใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถติดต่อได้ที่ สำนักบริหารงานวิจัยและนวัตกรรมพระจอมเกล้าลาดกระบัง (KRiS) โทร. 086-825 5420, 085-382 0960 ทั้งนี้ กิจกรรมการเปิดตัวพร้อมสาธิต “เครื่องจ่ายออกซิเจน KMITL High Flow” รวมถึงสาธิตการทำงานของเครื่องช่วยหายใจ KNIN ทั้งสี่รุ่น โดยผู้สนใจสามารถติดตามความเคลื่อนไหวกิจกรรม ของ สจล. ได้ที่ https://www.facebook.com/kmitlofficial และ http://kmitl.ac.th
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability