โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ tui sakrapee Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเป็นนักกายภาพบำบัดต้องเรียนจบอะไรNEXT Next post: ทีมสถาปัตย์ มทร.ธัญบุรี ออกแบบต้นแบบรีสอร์ท “เสื่อลำแพนบ้านค้อ” จ.ปราจีนบุรี สร้างเอกลักษณ์ เพิ่มคุณค่าผลิตภัณฑ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
tui sakrapee August 30, 2021 tui sakrapee August 30, 2021 “น้องไฟฉาย รุ่น3” โคม UV-C ฆ่าเชื้อ COVID-19 ปฏิบัติการแล้วเพื่อบุคลากรด่านหน้าปลอดภัยมั่นใจ 100 % คณะแพทยศาสตร์และคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ Smile Roboticsและมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมพัฒนานวัตกรรมโคม UV-C “น้องไฟฉาย รุ่นที่ 3”ฆ่าและทำลายเชื้อไวรัส COVID-19 และเชื้อโรคอื่นๆ ได้ 99.99% ภายใน 3 นาที พร้อมสร้างความมั่นใจให้เจ้าหน้าที่ด่านหน้าแล้ว ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด-19บุคลากรทางการแพทย์ถือเป็นกลุ่มคนด่านหน้าที่มีความเสี่ยงสูงเนื่องจากต้องคลุกคลีกับผู้ติดเชื้อทุกวันต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานซึ่งเชื้อโควิด-19 สามารถล่องลอยอยู่ในอากาศได้ชั่วระยะเวลาหนึ่งแถมอยู่บนพื้นผิวต่างๆ ได้นานหลายชั่วโมงถึงนานนับวันขึ้นอยู่กับปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม ดังนั้นการฆ่าเชื้อสถานที่ปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรด่านหน้าจึงเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่ง คณะแพทยศาสตร์ และ คณะวิศวกรรมศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห่วงใยในเรื่องนี้ จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และSmileRobotics พัฒนา Robocovid UV-C หรือ “น้องไฟฉาย”ฆ่าเชื้อโรคและสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้บุคลากรทางการแพทย์โดยตั้งแต่การระบาดระลอกแรก คณะนวัตกรรมได้พัฒนาหุ่นยนต์มาแล้ว 2รุ่น จนล่าสุด เผยโฉม “น้องไฟฉายรุ่น 3”การันตีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อโรคได้เร็วและเข้มข้นกว่าเดิม จุดเริ่มต้น “น้องไฟฉาย” ศาสตราจารย์ นพ.สมรัตน์ จารุลักษณานันท์ ภาควิชาวิสัญญีวิทยาคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผู้ริเริ่มโครงการพัฒนาโคมUV-C ประสิทธิภาพสูงฆ่าเชื้อไวรัส COVID-19เผยถึงแนวคิดจูงใจในการสร้างนวัตกรรมว่า“ในช่วงการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19 ระลอกแรกเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลทุกระดับล้วนมีความเสี่ยงดังนั้นหากมีวิธีป้องกันการติดเชื้อและสร้างความปลอดภัยกับเจ้าหน้าที่เราก็ไม่ลังเลที่จะทำซึ่งการสร้างสภาพแวดล้อมในที่ทำงานให้ปราศจากเชื้อมีความสำคัญมากอย่างการทำความสะอาดหลังจากการใช้งานห้องต่างๆเราก็คิดว่าจะทำอย่างไรให้เจ้าหน้าที่ที่ดูแลในเรื่องนี้ปลอดภัย ไม่ติดโรค”ทีมจากคณะแพทยศาสตร์ นำโดย ศ.นพ.สมรัตน์จึงได้ประสานขอความร่วมมือจากรองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์รองศาสตราจารย์ ดร.อนงค์นาฏ สมหวังธนโรจน์ และ รองศาสตราจารย์ดร.โปรดปราน บุณยพุกกณะ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวฯจุฬาฯเพื่อให้คิดค้นอุปกรณ์ฆ่าเชื้อโรคในห้องผ่าตัดโดยไม่เป็นอันตรายกับผู้ปฏิบัติงาน โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.บุญรัตน์ โล่ห์วงศ์วัฒนภาควิชาวิศวกรรมโลหะการ และ ดร.เจนยุกต์ โล่วัชรินทร์ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯเป็นส่วนหนึ่งของคณะพัฒนานวัตกรรม “โจทย์ของนวัตกรรมนี้คือการสร้างอุปกรณ์ที่ใช้ฆ่าเชื้อช่วงที่ไม่มีคนอยู่ปฏิบัติการณ์ในห้องเป็นการฆ่าเชื้อเบื้องต้นเพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานก่อนที่จะมีเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลเข้ามาทำความสะอาดและฆ่าเชื้อเช็ดถูบนพื้นผิว ผนัง และอุปกรณ์ต่างๆ อีกครั้งด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อต่างๆ”ดร.เจนยุกต์กล่าว ทำไมต้องน้องไฟฉาย “รังสี UV-C” ดร.เจนยุกต์ อธิบายว่าในทางวิศวกรรม รังสี UV-Cอยู่ในช่วงความยาวคลื่น 200 – 280 นาโนเมตร หรือเรียกว่าเป็นช่วง germicidal range ซึ่งมีประสิทธิภาพสูงมากในการฆ่าเชื้อทั้งเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส และเชื้อรา“ความเข้มข้นของรังสี UV-C ที่ตกกระทบบนพื้นผิวมีความสำคัญกับการฆ่าเชื้อโรคเปรียบได้กับความเข้มข้นของสารเคมีที่ใช้ฆ่าทำความสะอาดเชื้อโรค ถ้ารังสีเข้มข้นมากก็ใช้เวลาน้อย ถ้าเข้มข้นน้อยก็ต้องใช้เวลามากขึ้น”ดร.เจนยุกต์ อธิบาย“ความเข้มข้นของแสง (fluence) มีหน่วยวัดเป็นจูล/ตารางเซนติเมตรซึ่งงานวิจัยหลายชิ้นบ่งชี้ว่าปริมาณความเข้มข้นของแสง UV-Cที่ประมาณ 1.2 จูล/ตารางเซนติเมตร หรือ 1,200มิลลิจูล/ตารางเซนติเมตร เป็นอย่างน้อยสามารถฆ่าเชื้อโควิด-19ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เวลาประมาณ 10 นาทีต่อ 1 จุดตรงนี้เองเป็นที่มาของจำนวนหลอด UV-Cที่เราคำนวณเพื่อติดตั้งบนตัวหุ่นยนต์รวมถึงองศาในการติดตั้งหลอดว่าต้องเอียงกี่องศาเพื่อให้มีความเข้มข้นเพียงพอที่จะฆ่าเชื้อได้” “น้องไฟฉาย” ตั้งแต่รุ่นแรกจนรุ่นปัจจุบันเป็นฝีมือการอออกแบบของคุณอดิศักดิ์ ดวงแก้ว วิศวกรหุ่นยนต์ แชมป์หุ่นยนต์กู้ภัยโลก 2 สมัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ และ SmileRobotics โดยออกแบบให้หลอด UV-C เป็นหลอดขนาดยาวแนวตั้งมีความสูงเท่ากับมนุษย์ที่ปฏิบัติงานจริงๆติดล้อเพื่อให้สามารถเคลื่อนที่ได้และควบคุมได้จากระยะไกล“น้องไฟฉายรุ่นแรก ตัวหลอด UV-C ถูกติดตั้งในแนวตรงการฉายแสง (projection)ลงบนพื้นหรือบริเวณที่ตัวหุ่นยนต์วิ่งผ่านยังทำได้ไม่เต็มที่ คือแผ่ลำแสงออกมาได้ประมาณ 3 เมตรโดยรอบ คิดเป็นพื้นที่คร่าวๆ ประมาณ20-25 ตารางเมตร จึงมีการพัฒนาสู่การผลิตในรุ่นที่ 2ซึ่งมีการทดลองเอียงตัวหลอด UV-Cเพื่อเพิ่มพื้นที่ของรังสีที่ตกกระทบบนพื้นผิวได้มากกว่าทั้งในเชิงการควบคุมพื้นที่และปริมาณความเข้มของรังสีซึ่งเป็นปัจจัยหลักในการฆ่าเชื้อโรค” ดร.เจนยุกต์ เล่าถึงหุ่นยนต์ “น้องไฟฉาย”สองรุ่นที่ผ่านมา “น้องไฟฉาย รุ่น 3” ฆ่าเชื้อโรคเข้มข้น รวดเร็ว ทุกทิศทางไวรัสโควิด-19 เป็นเชื้อไวรัสที่ถูกฆ่าทำลายได้ง่ายอยู่แล้ว การทดสอบของทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ผลสอดคล้องกับการทดสอบของทางคณะแพทย์และงานวิจัยในต่างประเทศที่พบว่าโดสความเข้มข้นของรังสีที่ใช้กับน้องไฟฉายสองรุ่นแรกสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ 99.99 – 99.999 % ขึ้นไปแต่น้องไฟฉายรุ่นที่ 3 ทำได้เหนือกว่านั้นคณะผู้พัฒนาได้ปรับปรุงและพัฒนาน้องไฟฉายรุ่นที่ 3ให้มีประสิทธิภาพในการกระจายรังสี UV-C ได้เข้มข้นขึ้นในทุกทิศทุกทาง ช่วยร่นระยะเวลาในการฆ่าเชื้อลงเหลือเพียงจุดละ 3นาที อีกทั้งมีขนาดเล็กกะทัดรัด สะดวกในการใช้งานเคลื่อนย้ายและการจัดเก็บ เมื่อเทียบกับทั้ง 2 รุ่นที่ผ่านมา นอกจากนี้น้องไฟฉาย 3 สามารควบคุมการทำงานด้วยระบบ Internet of Things(IoT) หรือผ่านเครือข่าย 4G ทาง Smart Phone ทั้งระบบ Android และIOS “ในการตรวจสอบประสิทธิภาพการกำจัดเชื้อที่ระยะทางต่างๆทั้งที่ระดับพื้นดิน ระดับ 50 เซนติเมตรเหนือพื้น บนพื้นผิววัสดุต่างๆทั้งแก้ว พลาสติก โลหะ มีการนำเชื้อโรคอื่นๆที่ถูกกำจัดหรือฆ่าได้ยากกว่าไวรัสโควิด-19 หลายเท่ามาใช้ทดสอบเป็นคู่เทียบ (surrogate)ก็พบว่าหุ่นยนต์น้องไฟฉายสามารถฆ่าเชื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพผลตอบรับจากโรงพยาบาลอื่นๆ ที่ได้นำไปใช้ก็อยู่ในระดับที่ยอดเยี่ยม”ศ.นพ. สมรัตน์ กล่าวเพิ่มเติมถึงการตรวจสอบประสิทธิภาพหุ่นยนต์ไฟฉายรุ่น 3 โดยภาควิชาวิสัญญีวิทยา ร่วมกับหน่วยแบคทีเรียวิทยาภาควิชาจุลชีววิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ น้องไฟฉายทุกรุ่นออกปฏิบัติการแล้ว พร้อมศึกษาพัฒนารุ่นต่อไป ปัจจุบัน “น้องไฟฉาย 3”ได้ให้บริการฆ่าเชื้อทำความสะอาดแล้วในหลายโรงพยาบาลทั่วประเทศเช่น ในห้องทำคลอดของแผนกสูตินารีเวช โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์และมีแผนขยายและส่งมอบน้องไฟฉายให้โรงพยาบาลอื่นๆ ที่สนใจด้วยดร.เจนยุกต์ กล่าวทิ้งท้ายถึงอนาคตของ “น้องไฟฉาย” รุ่นต่อไปว่า“ชนิดหลอด UV-Cที่เราใช้อยู่ในปัจจุบันอาจมีการปล่อยก๊าซโอโซนออกมาซึ่งถึงแม้โอโซนจะสามารถช่วยฆ่าเชื้อและสลายไปได้เองแต่ก็ข้อกังวลเรื่องการตกค้างของโอโซนที่อาจส่งผลกระทบต่อพื้นผิวอุปกรณ์ได้ ดังนั้นเราจึงกำลังศึกษามองหาหลอดประเภทอื่นที่มีประสิทธิภาพในการใช้พลังงานที่ดีที่สุด เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นแม้ว่าตัวที่เราใช้อยู่ก็มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากในระดับหนึ่งอยู่แล้วก็ตาม” ผู้สนใจสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา หรือต้องการหุ่นยนต์“น้องไฟฉาย” ไปใช้ในโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนามสามารถติดต่อหรือสอบถามที่ภาควิชาวิสัญญีวิทยา คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โทรศัพท์ (02) 256 4000 ต่อ 81513 …………………………………………………. ที่มา ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล
พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ”