CIBA DPU ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า เปิด 4 เวทีแข่งขันทักษะธุรกิจระดับประเทศ ชิงถ้วยพระราชทาน ‘กรมสมเด็จพระเทพฯ’ เปิดรับสมัครแล้ววันนี้ – 17 ม.ค. 2568 นักเรียน ม.ปลาย – ปวช. – ปวส. ห้ามพลาด! EZ WebmasterDecember 20, 2024 วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี (CIBA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) ร่วมกับ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จัดโครงการแข่งขันเพื่อพัฒนาทักษะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ ให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายและนักศึกษาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.)และประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(ปวส.) ชิงถ้วยรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2567 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.ส่งเสริมการพัฒนาทักษะผู้ประกอบการ สำหรับนักเรียนและนักศึกษา 2.พัฒนาทักษะที่จำเป็นในยุคปัจจุบัน เช่น การทำงานร่วมกับผู้อื่น การแก้ปัญหา การสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม และการใช้เทคโนโลยี… ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่… CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ EZ WebmasterDecember 19, 2024 พลาดไม่ได้แล้ว เตรียมตัวให้พร้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(มช) ยินดีต้อนรับทุก ๆ ท่านเข้าสู่กิจกรรมฉลองสุดยิ่งใหญ่ในรอบ 60 ปี CMU EDUCATION EXPO 2025: EDUCATION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT เพื่อเน้นไปที่การศึกษาและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นหลัก… มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… นักศึกษา ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้อง ๆ ร่วมผจญภัยในดินแดนสุขภาพ พร้อมเรียนรู้เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การแพทย์ ในงาน “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” @โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ ในงานวันเด็กแห่งชาติ 2568 EZ WebmasterDecember 20, 2024 ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ชวนน้องๆ หนู ๆ และผู้ปกครองร่วมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2568 “Healthy Kids in CRA Wonderland ! 2025” มาร่วมผจญภัยในโลกสุขภาพไปกับกิจกรรมแสนสนุกสุดสร้างสรรค์ เรียนรู้เทคโนโลยีการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ พร้อมลุ้นรับรางวัลพิเศษมากมาย วันเสาร์ที่… CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ EZ WebmasterDecember 19, 2024 พลาดไม่ได้แล้ว เตรียมตัวให้พร้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(มช) ยินดีต้อนรับทุก ๆ ท่านเข้าสู่กิจกรรมฉลองสุดยิ่งใหญ่ในรอบ 60 ปี CMU EDUCATION EXPO 2025: EDUCATION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT เพื่อเน้นไปที่การศึกษาและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นหลัก… มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… นักศึกษา ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
CMU EDUCATION EXPO 2025 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ EZ WebmasterDecember 19, 2024 พลาดไม่ได้แล้ว เตรียมตัวให้พร้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่(มช) ยินดีต้อนรับทุก ๆ ท่านเข้าสู่กิจกรรมฉลองสุดยิ่งใหญ่ในรอบ 60 ปี CMU EDUCATION EXPO 2025: EDUCATION FOR SUSTAINABLE DEVELOPMENT เพื่อเน้นไปที่การศึกษาและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเด็นหลัก… มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” EZ WebmasterDecember 20, 2024 Jobsdb by SEEK แพลตฟอร์มหางานอันดับหนึ่งของประเทศไทย ร่วมกับสถาบันสอนภาษา Inspire English ภูมิใจนำเสนอ Exclusive Workshop — U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN เวิร์กชอปเรื่องงาน… นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
นักศึกษาบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ม.หอการค้าไทย คว้ารางวัลชมเชยสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 13 EZ WebmasterDecember 20, 2024 สถาบันขงจื่อแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจัดโครงการประกวดสุนทรพจน์ภาษาจีนสิรินธร ระดับอุดมศึกษา ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 13 ในวันจันทร์ที่ 16 ธันวาคม 2567 ณ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้ นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย สาขาธุรกิจระหว่างประเทศ… มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 tui sakrapeeDecember 20, 2024 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 โดยมี ดร.มัทนา สานติวัตร อุปนายกสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ เป็นประธานในพิธี ด้วยบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุขเต็มเปี่ยมด้วยรอยยิ้มแห่งความภาคภูมิใจของดุษฎีบัณฑิต มหาบัณฑิต บัณฑิตและผู้ปกครอง ตลอดจนคณาจารย์ คณะผู้บริหารร่วมแสดงความยินดี . มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ EZ WebmasterDecember 20, 2024 นักวิจัยจุฬาฯ คิดค้นนวัตกรรมน้ำยาเคลือบและยืดอายุกระดาษได้นาน 15-20 ปี โดยกระดาษไม่เปื่อย สีไม่เปลี่ยน เชื้อราไม่ขึ้น ฝุ่นไม่จับ อีกหนึ่งความพยายามที่จะอนุรักษ์เอกสาร ภาพวาดและภาพถ่ายโบราณ ถูกใจบรรณารักษ์และคนรักหนังสือที่อยากถนอมหนังสือไว้อ่านได้นาน ๆ นอกจากกาลเวลาแล้ว ความร้อน ความชื้น และเชื้อรา นับเป็นตัวเร่งสำคัญในการลบและทำลายร่องรอยทางประวัติศาสตร์ เอกสาร ภาพวาด ภาพถ่ายและแผนที่โบราณซึ่งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมหลายร้อยปีต่างแปรสภาพ… สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” EZ WebmasterDecember 19, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ขอเชิญครูอบรมออนไลน์ฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Formative Assessment)” สำหรับครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในสถานศึกษา เลือกได้ 4 หลักสูตร หลักสูตรละ 2 ชั่วโมง ได้แก่ หลักสูตรที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 2 กระบวนการประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน หลักสูตรที่ 3 เทคนิคที่ใช้ในการค้นหาหลักฐานร่องรอยการเรียนรู้ และหลักสูตรที่ 4 การประเมินตนเองของผู้เรียนและการประเมินโดยเพื่อน รับผู้เข้าอบรมหลักสูตรละ 2,000 คน อบรมฟรีมีวุฒิบัตร สมัครอบรมได้ตั้งแต่บัดนี้ถึง 24 มกราคม 2568 ที่ระบบอบรมครู สสวท. https://learn.teacherpd.ipst.ac.th/courses สอบถามที่สาขาประเมินผลทางการศึกษา สสวท. อีเมล ea.training@ipst.ac.th มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา… กิจกรรม เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มจพ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม (หลักสูตรใหม่) EZ WebmasterDecember 19, 2024 หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ประยุกต์และนวัตกรรม มจพ. (หลักสูตรใหม่) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคการศึกษาที่ 1/2568 คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เปิดรับสมัครนักศึกษา ระดับปริญญาโท รุ่นที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1/2568 ในหลักสูตร“เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต… ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา…
ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลก พร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน EZ WebmasterDecember 19, 2024 ซีเอ็มเอ็มยู มุ่งผลิตบุคลากรชั้นนำผ่านนวัตกรรมการศึกษาและงานวิจัยระดับโลกพร้อมจุดประกายภาคเศรษฐกิจ–สังคม เปลี่ยนแหล่งเรียนรู้สู่ “พาร์ทเนอร์การเรียนรู้” เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาอย่างยั่งยืน กรุงเทพฯ 18 ธันวาคม 2567 – วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล (CMMU) เปิดตัว รองศาสตราจารย์ ดร. ปรารถนา…
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว” tui sakrapee Related Posts มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดพิธีประสาทปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำปี 2567 จะติดแกลมหรือจะฉ่ำ? ศัพท์ใหม่ที่เติมสีสันให้ชีวิตออนไลน์ในปี 2024 น้ำยายืดอายุกระดาษ นวัตกรรมจุฬาฯ อนุรักษ์เอกสารและภาพศิลปะโบราณให้คงสภาพอีกนานนับทศวรรษ สสวท. อบรมครูฟรีหลักสูตร “การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน” Post navigation PREVIOUS Previous post: “นวัตกรรมผ้าไม่ทอจากเส้นใยไผ่ ในผลิตภัณฑ์ไลฟ์สไตล์ทางการแพทย์” นักวิจัยมทร.ธัญบุรีสร้างคุณค่าและมูลค่าเพิ่มNEXT Next post: มีที่เรียนก่อนใคร! โค้งสุดท้าย “สวนสุนันทา” พารอด รับรอบ 1 ถึง 4,601 ที่นั่ง สมัครวันนี้ยังมีโอกาส – 7 ม.ค.65 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่… Search for: Search
คีนัน ผนึกกำลังพันธมิตรเตรียมติดอาวุธให้เยาวชนไทย เสริมทักษะด้าน AI และ Green Skills สู่ตลาด เพื่อสร้างกำลังคนแห่งอนาคตที่ยั่งยืน EZ WebmasterDecember 13, 2024 มูลนิธิคีนันแห่งเอเซีย (คีนัน) พร้อมพันธมิตรหลากหลายภาคส่วน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน จัดสัมมนา “การบูรณาการทักษะ AI และทักษะสีเขียว สู่การเป็นแรงงานที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นทักษะที่จำเป็นในอนาคตของเยาวชนไทย เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสร้างกำลังคน เพื่อรองรับการเติบโตอย่างยั่งยืนของธุรกิจและอุตสาหกรรมสมัยใหม่ในอนาคตของประเทศไทย จากที่รัฐบาลไทยได้ประกาศวิสัยทัศน์ Thailand Vision 2030 “Ignite Thailand: จุดพลัง รวมใจ ไทยเป็นหนึ่ง” เพื่อยกระดับประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมระดับโลก พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่อนาคตที่ยั่งยืน โดยตั้งเป้าประเทศไทยจะก้าวไปเป็นที่ 1 ของภูมิภาค ด้วยข้อได้เปรียบทั้งด้านทรัพยากรธรรมชาติ… อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่…
อาชีวะ เชิญชวนเที่ยวงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างศธ. กับ เครือเซ็นทรัลพัฒนา EZ WebmasterDecember 12, 2024 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กำหนดจัดงาน “ R Carnival gift for you เรียนดี มีความสุข ช้อปสนุก สุขใจ ผลิตภัณฑ์โดนใจจากอาชีวะ” ระหว่างวันที่…
tui sakrapee January 4, 2022 tui sakrapee January 4, 2022 อาจารย์สถาปัตย์ จุฬาฯ นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 พัฒนาที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย รศ.ไตรรัตน์ จารุทัศน์ ภาควิชาเคหการ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาฯ หัวหน้าศูนย์เชี่ยวชาญเฉพาะทางการออกแบบสภาพแวดล้อมเพื่อทุกคน ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ สาขาปรัชญา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รศ.ไตรรัตน์ เป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีผลงานเป็นที่ยอมรับในแวดวงสถาปัตยกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลงานวิจัยด้านการออกแบบเพื่อทุกคน (Universal Design) โครงการรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทย เพื่อส่งเสริมสุขภาพกาย-ใจ ภายใต้แนวคิดชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ เพื่อส่งเสริมให้เกิดกระบวนการสร้างความร่วมมือ การมีส่วนร่วมระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ ในการวางแผนตามหลักเมืองที่เป็นมิตรต่อผู้สูงวัย และพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการสื่อสารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ เผยถึงความรู้สึกที่ได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติว่า “ดีใจและขอบคุณสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ที่ให้ความสำคัญในเรื่องผู้สูงอายุ ผลงานวิจัยนี้ ผมและทีมวิจัยได้ศึกษาเรื่องนี้มาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ต้องขอขอบคุณจุฬาฯ ที่ให้โอกาสคณาจารย์จากสหสาขาวิชาได้มาทำงานวิจัยร่วมกัน” จุดเริ่มต้นในการทำงานวิจัยของนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รศ.ไตรรัตน์เริ่มต้นทำงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุเมื่อ 25 ปีที่แล้ว จากความพยายามที่จะสร้างบ้านสำหรับผู้สูงอายุให้มีความปลอดภัยตามมาตรฐานคู่มือ แต่ผลสุดท้ายคือผู้สูงอายุไม่ย้ายเข้ามาอยู่ในบ้าน จึงสนใจศึกษาว่าเพราะเหตุใดผู้สูงอายุถึงไม่ปรับตัวกับสภาพแวดล้อมใหม่ ทำให้รู้ถึงข้อจำกัดในการเลือกที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ นอกจากสภาพแวดล้อมด้านความปลอดภัยทางกายภาพแล้ว ยังเลือกสภาพแวดล้อมทางสังคม ชุมชน สิ่งแวดล้อม คือต้องอยู่ใกล้ญาติมิตร ชุมชน เดินทางไปมาหาสู่สะดวก ที่สำคัญต้องพึ่งพาตัวเองได้ ซึ่งจะทำให้ผู้สูงอายุเกิดความภูมิใจมากกว่าการต้องพึ่งพาลูกหลาน กว่า 20 ปีที่ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์มีผลงานวิจัยจำนวนมาก แบ่งออกเป็นงานวิจัยขั้นพื้นฐาน เช่น มาตรฐานขั้นต่ำสำหรับที่พักอาศัยและสภาพแวดล้อมของผู้สูงอายุไทย การพัฒนาต้นแบบสภาพแวดล้อมทางกายภาพ และสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุของสถานบริการสาธารณสุข ฯลฯ งานวิจัยประยุกต์ เช่น การปรับสิ่งอำนวยความสะดวกของเมืองพัทยาเพื่อรองรับผู้สูงอายุและคนพิการ โครงการการออกแบบชุมชนน่าอยู่ผู้สูงวัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท และการปรับปรุงและพัฒนาต้นแบบที่อยู่อาศัยที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุในชนบท การส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อคนทั้งมวล (Tourism For All) ฯลฯ งานวิจัยองค์ความรู้ใหม่ ได้แก่ สภาพการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุ 3 ช่วงวัย (วัยต้น วัยกลาง และวัยปลาย) ซึ่งได้รับทุนวิจัยจากโครงการส่งเสริมการทำงานวิจัยเชิงลึกในสาขาวิชาที่มีศักยภาพสูง การศึกษาและพัฒนานโยบาย เครื่องมือ และต้นแบบที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุและผู้ทุพพลภาพ การศึกษาพฤติกรรมการอยู่อาศัยของผู้สูงอายุที่มีอายุยืนของประเทศ ฯลฯ “เราทำวิจัยเกี่ยวกับผู้สูงอายุและคนพิการต่อเนื่องมากว่า 20 ปี ครอบคลุมผู้สูงอายุทุกกลุ่มทั้งในเมืองหรือชนบท ผู้สูงอายุวัยต้น วัยกลาง วัยปลาย จนถึงผู้สูงอายุที่มีอายุ 100 ปี งานวิจัยของเราเน้น “จากหิ้งสู่ห้าง” มีการนำไปใช้จริง โดยมีบ้านต้นแบบต้นแบบที่นำไปประยุกต์ใช้กับพื้นที่ที่เหมาะสมได้” รศ.ไตรรัตน์ กล่าว กลุ่มคนเปราะบางกับสถานการณ์สังคมสูงวัย ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา ประเทศไทยมีผู้สูงอายุ 10 % ในปี 2565 ผู้สูงอายุเฉลี่ยทั่วประเทศจะมีมากถึง 20% ซึ่งเข้าสู่สังคมสูงวัยแบบสมบูรณ์ ถือเป็นสถานการณ์หรือวิกฤตของประเทศไทย ดังนั้นเราควรมีการเตรียมตัววางแผนรับมือให้ดี เพราะนอกจากผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นแล้ว อัตราการเกิดและคนวัยแรงงาน ก็ลดลงด้วย เราควรมีการวิจัยเชิงลึกในเรื่องนี้ให้มากขึ้นเพื่อลดผลกระทบทางเศรษฐกิจที่จะตามมา การคุ้มครองสวัสดิภาพในกลุ่มคนเปราะบาง เช่น คนในชุมชนแออัด คนไร้บ้าน คนยากจน ฯลฯ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 10% คนกลุ่มนี้ต้องเผชิญปัญหาความยากจน เจ็บป่วย ถูกทอดทิ้ง การผลักภาระไปที่รัฐบาลเพียงอย่างเดียวอาจจะแก้ปัญหาไม่ได้ ชุมชนและภาครัฐต้องช่วยกันดูแลคนกลุ่มนี้ด้วยการส่งเสริมให้อยู่ที่เดิม โดยรัฐอาจมีมาตรการเฉพาะคนกลุ่มนี้ เช่น การปรับปรุงบ้าน การให้บริการสาธารณสุข เป็นต้น เรียนรู้ผู้สูงวัยจากงานวิจัยเรื่องที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์ กล่าวว่าช่วงเริ่มต้นโครงการวิจัยรูปแบบที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุไทยจะเน้นเรื่องความปลอดภัยทางสภาพแวดล้อมเป็นหลัก อย่างไรก็ตาม จากกรณีศึกษาของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ที่ให้งบประมาณแก่กลุ่มผู้สูงอายุเพื่อปรับปรุงบ้าน พบว่ากลุ่มผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางไม่ได้นำเงินที่ได้ไปปรับปรุงสภาพแวดล้อมตามกายภาพที่ควรจะเป็น ทำให้การมองปัญหา ในผู้สูงอายุคงมองเรื่องกายภาพเพียงอย่าเดียวไม่ได้ แต่ต้องเน้นไปที่ปัญหา 4 ด้าน ได้แก่ เรื่องสุขภาพ สังคม เศรษฐกิจ และสภาพแวดล้อม คือต้องดูแลสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุไปพร้อมๆ กับสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อให้ผู้สูงอายุพึ่งพาตนเองได้ แล้วค่อยปรับบ้านให้ปลอดภัยกับผู้สูงอายุ ลักษณะที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุต้องมีความปลอดภัย มีพื้นเรียบเสมอกันทั้งในบ้านและห้องน้ำ มีราวจับ พื้นไม่ลื่น ที่อยู่อาศัยมีแสงสว่างเพียงพอ ประตูที่ใช้เป็นบานเลื่อน ก๊อกน้ำลูกบิดประตูเป็นก้านโยก ช่องทางเดินมีความกว้าง 90 เซนติเมตร หน้าต่างบานลึก มีแสงสว่าง มองเห็นสวนและต้นไม้ นอกจากนี้พื้นที่ในบ้านไม่ควรใหญ่เกินไปเพื่อง่ายต่อการบำรุงรักษา มีพื้นที่เก็บของเพื่อให้ไม่รกเกะกะ ก่อให้เกิดปัญหาพลัดตกหกล้ม ความสำคัญของชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัย ชุมชนที่เป็นมิตรกับผู้สูงวัยเป็นแนวคิดขององค์การอนามัยโลก (WHO) เพื่อให้ผู้สูงวัยอยู่ในชุมชนได้อย่างเป็นสุข เป็นมิตรกับทุกคน ทุกวัย ทุกสภาพแวดล้อม ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ ด้านกายภาพ เริ่มจากบ้านต้องปลอดภัย มีการเดินทางที่สะดวกสบาย มีพื้นที่สาธารณะที่ดี สามารถเข้าถึงได้ ด้านสังคม ต้องมีการมีส่วนร่วมทางสังคม นอกจากนี้ยังต้องมีการบริการพื้นฐาน ผู้สูงอายุต้องเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร มีบริการทางด้านสุขภาพ สิ่งอำนวยความสะดวก และระบบเศรษฐกิจที่สนับสนุนผู้สูงอายุอีกด้วย จุดเด่นของงานวิจัยที่ตอบโจทย์สังคม “ผลงานวิจัยที่ผ่านมาเป็นงานที่ตอบโจทย์เชิงสังคมและชุมชน สามารถนำไปใช้ได้จริงโดยได้ริเริ่มแนวคิดสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัยสำหรับผู้สูงอายุ คนพิการหรือที่เรียกว่าหลักการออกแบบเพื่อทุกคน นักวิจัยรุ่นหลังสามารถนำเอาแนวคิดนี้ไปพัฒนาต่อยอดเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ เรากำลังผลักดันให้รัฐบาลและภาคเอกชนสนใจในเรื่องนี้เพื่อปรับธุรกิจในการรองรับสังคมสูงวัยซึ่งเป็นสถานการณ์ที่ประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน” รศ.ไตรรัตน์เผยถึงจุดเด่นของงานวิจัยนี้ การสร้างความร่วมมือเพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุ รศ.ไตรรัตน์เผยถึงปัญหาสำหรับผู้สูงอายุว่าเป็นเรื่องซับซ้อน จึงต้องมีหลายหน่วยงานเข้ามาเกี่ยวข้อง ต้องร่วมมือกันหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐ ภาคเอกชน ชุมชน ครอบครัวเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมในการช่วยกันแก้ไขปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี การจะสร้างแรงจูงใจให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมมือพัฒนาพื้นที่ของผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่องนั้น รัฐต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสงเคราะห์เป็นพัฒนา ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัว เป็นผู้ดูแลผู้สูงอายุในชุมชน นำเบี้ยยังชีพมาช่วยสร้างงาน รณรงค์ส่งเสริมการสูงวัยในถิ่นเดิม (Aging in Place) ทั้งในระดับการอยู่อาศัยในบ้านหลังเดิม และในชุมชน เครือญาติเดิม พัฒนาระบบการดูแลที่บ้านในชุมชน (Home & Community Healthcare) ดูแลทั้งสุขภาพอนามัย ชีวิตความเป็นอยู่และสภาพแวดล้อมส่งเสริมให้เอกชนผลิตสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ โดยใช้มาตรการการส่งเสริมการลงทุน การลดภาษี ส่งเสริมให้ครอบครัวที่มีผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถจัดซื้อและติดตั้งสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับผู้สูงอายุและคนพิการ สามารถนำมาลดหย่อนภาษีได้ รวมถึงส่งเสริมให้เอกชนพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุที่มีความต้องการเฉพาะ หรือกลุ่มที่มีความจำเป็นจริงๆ แผนการทำงานวิจัยในอนาคต เน้นการทำวิจัยแบบสหสาขาวิชา ผลงานวิจัยที่จะดำเนินการต่อไปคือ โครงการวิจัยพัฒนาระบบต้นแบบรองรับสังคมสูงวัยในบริบทของชุมชนเมือง ภาคใต้และภาคตะวันออก รศ.ไตรรัตน์ ฝากข้อคิดในการทำงานวิจัยให้ประสบความสำเร็จว่า “อยากให้นักวิจัยตั้งโจทย์ให้ หัวข้องานวิจัยมีความน่าสนใจ มีกลุ่มตัวอย่างที่ชัดเจน ไม่เกี่ยงงาน ไม่คิดถึงข้อจำกัดเรื่องเวลา จะทำให้เราทำงานวิจัยง่ายขึ้น หัวใจของนักวิจัยคือ “เราต้องรู้ว่าเราไม่รู้อะไร” เพราะตราบใดที่เรายังค้นคว้าหาความรู้อยู่เรื่อยๆ นั่นคือการทำหน้าที่เป็นนักวิจัยแล้ว”
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้