New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt
สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterNovember 21, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) ประเภท 2 ระดับปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 จำนวน 8 หลักสูตร ใน 5 มหาวิทยาลัย จำนวน 100 คน สมัครได้ถึง 20 ธันวาคม 2567 สแกนดูรายละเอียด หรือสอบถามที่ฝ่ายสควค. อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt
EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว tui sakrapee Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น สสวท. ปั้นครูวิทย์ยอดฝีมือ 100 ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท Post navigation PREVIOUS Previous post: อยากเข้าคณะทันตแพทยศาสตร์ต้องสอบอะไรบ้างNEXT Next post: ภาคเอกชนปลื้มศักยภาพเด็ก มทร.ธัญบุรี มอบทุนเรียนฟรีเพิ่ม “อธิการบดี” เล็งขยายผลสู่ 9 ราชมงคล Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search
“กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
tui sakrapee January 25, 2022 tui sakrapee January 25, 2022 นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 ไขรหัสพันธุกรรมเชื้อดื้อยาในสัตว์ สู่การแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน อาจารย์สัตวแพทย์ จุฬาฯ “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565” เผยรหัสพันธุกรรม เชื้อดื้อยา ในสัตว์ที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์และสิ่งแวดล้อม แนะวิธีแก้ปัญหาอย่างครอบคลุมภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” “เชื้อดื้อยา”เป็นภัยเงียบที่องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่าคร่าชีวิตประชากรโลกถึงปีละ 700,000 คน หากไม่เร่งแก้ไข คาดว่าอีก 30 ปีข้างหน้า หรือราวปี 2593 การเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยาอาจสูงถึงปีละหนึ่งล้านคนทั่วโลก สำหรับประเทศไทย การศึกษาเบื้องต้นพบว่าการเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยามีสถิติสูงถึงปีละประมาณ 30,000 คน! การเร่งหาแนวทางรับมือกับปัญหาเชื้อดื้อยาในวันนี้จึงจำเป็นเพื่อป้องกันปัญหาสาธารณสุขในวันหน้า “ปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นปัญหาสุขภาพหนึ่งเดียว (One Health) ที่เชื่อมโยงทั้งสุขภาพคน สัตว์และสิ่งแวดล้อม หากเราไม่ทำอะไรเลย หรือไม่ลงมือแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในตอนนี้ ก็เป็นไปได้ที่เราจะไม่มียาปฏิชีวนะเพื่อรักษาโรคติดเชื้อในอนาคต ไม่ว่าจะโรคติดเชื้อในคนหรือในสัตว์” ศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.รุ่งทิพย์ ชวนชื่น หัวหน้าภาควิชาสัตวแพทยสาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกล่าว ด้วยความเชี่ยวชาญด้านเชื้อดื้อยาในสัตว์ ประกอบกับผลงานวิจัยมากมายที่ได้รับการผลักดันสู่แผนปฏิบัติการระดับชาติและนานาชาติ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ดำรงตำแหน่งงานสำคัญมากมาย อาทิ ผู้อำนวยการศูนย์ติดตามการดื้อยาของเชื้อโรคอาหารเป็นพิษ โดยความร่วมมือกับองค์การอนามัยโลก ผู้อำนวยการศูนย์อ้างอิงด้านเชื้อดื้อยา องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO Antimicrobial Resistance Reference Center) และผู้อำนวยการ Global Foodborne Infections Network: South-East Asia and Western Pacific Region องค์การอนามัยโลก ฯลฯ และล่าสุดอาจารย์ได้รับเลือกเป็น “นักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ ปี 2565 สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา” จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ด้วยผลงานวิจัยทางอณูชีววิทยาที่ไขหนทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาอย่างยั่งยืน ปัญหาเชื้อดื้อยาในสัตว์ในประเทศไทย ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ อธิบายว่าการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคทั้งปศุสัตว์และสัตว์น้ำ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อรักษาและป้องกันการติดเชื้อและเร่งการเจริญเติบโตในสัตว์ แต่ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกิดขึ้นมาจากการใช้ยาปฏิชีวนะที่ไม่สมเหตุผล “ทุกครั้งที่มีการใช้ยาปฏิชีวนะจะเปิดโอกาสให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและแพร่กระจายยีนดื้อยาได้ ในฟาร์มปศุสัตว์ก็มีการใช้ยาปฏิชีวนะเช่นกัน เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์และผู้บริโภคอาจได้รับเชื้อดื้อยาผ่านห่วงโซ่อาหาร จากการบริโภคเนื้อสัตว์ที่ปนเปื้อนหรือจากการสัมผัสโดยตรงซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ” นอกจากนี้ สัตว์เลี้ยงและสัตว์ป่า รวมทั้งสิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ เช่น ดิน น้ำ ก็อาจมีการปนเปื้อนเชื้อดื้อยาได้เช่นกัน เชื้อดื้อยาไม่ว่าจะอยู่ในคน สัตว์หรือสิ่งแวดล้อม ย่อมส่งผลกระทบถึงกันหมด อณูชีววิทยา กับทางออกปัญหาเชื้อดื้อยา การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาที่เกี่ยวข้องสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคนั้นไม่ง่าย เนื่องจากภาคปศุสัตว์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องใช้ยาปฏิชีวนะ โจทย์ท้าทายจึงกลับมาที่นักวิจัย ซึ่ง ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ หัวหน้าหน่วยปฏิบัติการความปลอดภัยทางจุลชีววิทยาในอาหารและการดื้อยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ค้นคว้าวิจัยเพื่อหาแนวทางแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาด้วยความรู้ด้านพันธุกรรมและใช้เทคนิคทางอณูชีววิทยาเพื่อตอบคำถามว่า ทำไมเชื้อดื้อยาบางชนิดจึงพบมากในประเทศไทย เหตุใดเชื้อดื้อยายังคงอยู่หลังจากเลิกใช้ยาปฏิชีวนะแล้ว และปัจจัยอื่นๆ ที่ไม่ใช่ยาปฏิชีวนะ ทำให้เกิดเชื้อดื้อยาได้อย่างไร “เราศึกษาเชื้อดื้อยาในระดับgenome และนำเทคโนโลยีทางพันธุวิศวกรรม(Genetic Engineering) มาใช้ในการศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของเชื้อดื้อยาและกลไกการดื้อยา ทำให้เข้าใจแหล่งที่มา ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมและการถ่ายทอดพันธุกรรมของเชื้อดื้อยามากขึ้น ซึ่งข้อมูลกลไกการดื้อยาสามารถนำมาใช้ในการพัฒนาโมเลกุลหรือยาปฏิชีวนะชนิดใหม่ รวมทั้งสารทดแทนยาปฏิชีวนะได้อีกด้วย” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เล่าถึงผลการวิจัยจากการวิเคราะห์จีโนมิกของเชื้อดื้อยาที่เก็บจากคน ปศุสัตว์ และอาหารจากสัตว์ในประเทศไทยและภูมิภาคอาเซียนด้วยเทคนิค nanopore sequencing ว่า “ลักษณะทางจีโนมของเชื้อในประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในอาเซียนมีความหลากหลาย โดยมีองค์ประกอบทางพันธุกรรมบางส่วนที่คล้ายคลึงกัน แสดงถึงการถ่ายทอดหมุนเวียนของยีนดื้อยาของเชื้อดื้อยาในภูมิภาคนี้” ไม่เพียงแค่ยาปฏิชีวนะ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ เผยว่ายังมีสารอื่นๆ ที่ทำให้เชื้อพัฒนาการดื้อยาและถ่ายทอดยีนหรือตัวระบุการดื้อยาได้ ส่งผลให้มีการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาเป็นวงกว้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ยาฆ่าเชื้อที่ใช้ในฟาร์มและโรงพยาบาล และโลหะหนักที่ผสมในอาหารสัตว์ “จากข้อมูลเบื้องต้นเราตรวจพบยีนดื้อยาในฝุ่นที่เก็บจากฟาร์มปศุสัตว์ รวมทั้งฝุ่นจากเครื่องปรับอากาศในห้องวิจัยอีกด้วย เรากำลังขยายการวิจัยไปยังคลินิกและโรงพยาบาลสัตว์ เชื้อดื้อยาไม่ได้พบในสัตว์และอาหารที่มาจากสัตว์เท่านั้น ดังนั้นการใช้มาตรการยกเลิกการใช้ยาปฏิชีวนะในปศุสัตว์เพียงอย่างเดียวอาจไม่ใช่คำตอบของการแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งหมดได้” สู่แผนยุทธศาสตร์ชาติแก้ปัญหาเชื้อดื้อยา ผลงานวิจัยของ ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ ได้ถูกนำไปใช้ในการสนับสนุนแผนยุทธศาสตร์การจัดการการดื้อยาปฏิชีวนะประเทศไทย และใช้แก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในเอเชียและประเทศที่กำลังพัฒนาในภูมิภาคอื่นๆ โดยร่วมมือกับองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติและหน่วยงานระดับนานาชาติ มีทั้งเรื่องการประเมินระบบการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาแห่งชาติและระบบห้องปฏิบัติการเชื้อดื้อยา การกำหนดมาตรการควบคุมการใช้ยาปฏิชีวนะในสัตว์ การทบทวนตำรับยาสำหรับสัตว์ การจัดทำแผนการเฝ้าระวังเชื้อดื้อยาการเฝ้าระวังการดื้อยาปฏิชีวนะภายใต้แนวคิดสุขภาพหนึ่งเดียว เป็นต้น นอกจากนี้ งานวิจัยก็ยังถูกถ่ายทอดเพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจด้านเชื้อดื้อยาและการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างเหมาะสมแก่เยาวชน ประชาชนทั่วไป เจ้าของสัตว์เลี้ยง ผู้ประกอบการเลี้ยงสัตว์และบุคคลกรภาครัฐและเอกชน “การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาในปศุสัตว์ให้มีประสิทธิภาพต้องทำหลายอย่างและต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายภาคส่วน ได้แก่ การตรวจติดตามและเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา การใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล การส่งเสริมระบบป้องกันทางชีวภาพในฟาร์ม (farm biosecurity) การลดการติดเชื้อและเสริมภูมิคุ้มกันโรคให้กับสัตว์ การใช้สารทดแทนยาปฏิชีวนะ เป็นต้น” “เชื้อดื้อยาเป็นปัญหาที่เกี่ยวข้องทั้งสุขภาพคน สุขภาพสัตว์ และสุขภาพสิ่งแวดล้อม การแก้ปัญหาเชื้อดื้อยาจึงควรบูรณาการภายใต้แนวคิด “สุขภาพหนึ่งเดียว” (One Health Concept) ซึ่งต้องแก้ไขปัญหาเชื้อดื้อยาทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อมไปพร้อมๆ กัน” ศ.สพ.ญ.ดร.รุ่งทิพย์ กล่าวทิ้งท้าย ที่มา – ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาฯ สุรเดช พันธุ์ลี ผู้ส่งข่าว