นิทรรศการตลาดนัดหลักสูตร โครงการ “เลือกแนวทาง…วางอนาคต”ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ครั้งที่ 27 EZ WebmasterNovember 17, 2024 เปิดให้ลงทะเบียนแล้ว OPEN HOUSE 2024 ม.เกษตรศาสตร์ บางเขน ครบทุกคณะ . กำหนดการ : 19-20 ธันวาคม 67 วิทยาเขต : บางเขน ค่าใช้จ่าย :… มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
“ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ มทร. รัตนโกสินทร์ เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2565NEXT Next post: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (พีไอเอ็ม) จัดมหกรรมทุน PIM ครบที่สุดเรื่องทุนการศึกษา ทุนเด็ด จัดเต็ม!! กับสนามสอบและกิจกรรม Mini Open House Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search
ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
tui sakrapee February 17, 2022 tui sakrapee February 17, 2022 iHub จุฬาฯ เร่งสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ เคลื่อนเศรษฐกิจไทยสู่สากล จุฬาฯ ชู CU iHub ผลิตบัณฑิตคุณภาพ สตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ร่วมขับเคลื่อน Thailand 4.0 ประเทศเทคโนโลยีอุตสาหกรรมใหม่ด้วยนวัตกรรม สำเร็จแล้วด้วยสินค้านวัตกรรมมูลค่ากว่าหมื่นล้านบาท ปัจจุบัน แนวโน้มการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของโลก (Global trend) ยังมุ่งเน้นไปที่การพัฒนานวัตกรรม ดังเห็นได้จาก ความต่อเนื่องในการผลักดันนโยบายของหลายประเทศ เช่น นโยบาย Made in China 2025 ของจีน อเมริกาก็ไม่แพ้กันด้วยนโยบาย Manufacturing USA ส่วนญี่ปุ่นก็ประกาศ Society 5.0 เกาหลีใต้ใช้แนวทาง I-Korea 4.0 มาเลเซียเน้น Industry 4WRD และประเทศไทยก็ยังชูนโยบาย Thailand 4.0 และการขับเคลื่อนประเทศให้ไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว ภายในปี ค.ศ. 2036 ตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ที่จะต้องปรับตัวและพลิกโฉมจากประเทศที่ขับเคลื่อนด้วยประสิทธิภาพ (Efficiency-driven) มาเป็นการขับเคลื่อนบนฐานนวัตกรรม (Innovation-driven) ทั้งนี้ การพัฒนานวัตกรรมจำต้องอาศัยฐานทรัพยากรบุคคล หรือ “นวัตกร” ผู้คิดค้นงานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อพัฒนาประเทศและสร้างการเปลี่ยนแปลงที่ดีแก่โลก หลายประเทศดังกล่าวจึงพยายามสร้างพื้นที่ในการบ่มเพาะนวัตกรและสร้างแรงจูงใจต่าง ๆ เพื่อดึงดูดบัณฑิตคุณภาพสูง (top talent) จากหลายประเทศให้ไปร่วมงานในประเทศของตัว สำหรับประเทศไทย แม้จะชูนโยบาย Thailand 4.0 มาตั้งแต่ปี 2560 แต่แรงงานคุณภาพสูงในประเทศก็ยังมีจำกัด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยจึงตั้งศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ CU Innovation Hub เรียกย่อ ๆ ว่า iHub เพื่อเร่งสร้างบัณฑิตคุณภาพ ตอบสนองทิศทางของประเทศในอนาคต iHub จุฬาฯ ภารกิจสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ iHub ตั้งขึ้นมาเมื่อปี 2560 โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เพื่อเปลี่ยนสังคมไทยสู่วิถีใหม่ในการใช้ชีวิต การเรียนรู้ และความคิดสร้างสรรค์ ผลิตบัณฑิตคุณภาพระดับ Top talent เพื่อเป็นผู้นำแห่งอนาคต ผู้มองเห็นโอกาสทางเศรษฐกิจใหม่ผ่านการใช้เทคโนโลยีและทรัพย์สินทางปัญญา และกล้าที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในอุตสาหกรรมเดิม ท้าทายวิธีการทำงานแบบเดิม ๆ “ประเทศไทยจะไม่สามารถบรรลุ เป้าหมายความเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และเป้าหมาย Thailand 4.0 ที่ตั้งเป้าไว้ตั้งแต่ปี 2560 หากขาดทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ ดังนั้น ในฐานะมหาวิทยาลัยที่มีบทบาทสร้างองค์ความรู้ และต่อยอดงานวิจัยสู่นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ทั้งในเชิงเศรษฐกิจและสังคม iHub จุฬาฯ จึงพยายามสร้าง “คน” ให้มีทักษะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21 ที่คิดเป็น ทำเป็น ด้วยแนวคิดของผู้ประกอบการหรือสตาร์ทอัพ ใช้เทคโนโลยีสร้างสรรค์นวัตกรรม จนทำให้เกิดอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ลดการพึ่งพาอุตสาหกรรมแบบเดิม ๆ ช่วยแก้ปัญหาประเทศด้วยวิธีที่ต่างไปจากเดิม และมีความยั่งยืน” ดร.ศันธยา กิตติโกวิท ผู้ช่วยอธิการบดี งานด้านนวัตกรรมและผู้อำนวยการศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ (CU Innovation Hub) กล่าว นอกจากสร้างสตาร์ทอัพพันธุ์ใหม่แล้ว ดร.ศันธยา กล่าวว่า iHub จุฬาฯ ยังสนับสนุนการคิดค้นนวัตกรรม การจดสิทธิบัตร การใช้ประโยชน์จากทรัพย์สินทางปัญญา และผลักดันนวัตกรรมไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่สังคม สร้างเม็ดเงินและมูลค่าทางเศรษฐกิจให้ประเทศไทย โดยปีล่าสุด 2564 สตาร์ทอัพจุฬาฯ ภายใต้การดูแลของ iHub เติบโตและมีจำนวนทีมสตาร์ทอัพราว 300 ทีม และมีผลงานนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ที่สร้างมูลค่าทางการตลาด (Market valuation) ถึง 16,754 ล้านบาท! iHub จุฬาฯ One Stop Service for Startup ดร.ศันธยา กล่าวว่าจุดเด่นของ CU iHub คือ ระบบนิเวศที่ส่งเสริมสตาร์ทอัพตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำ แบบ One Stop Service for startup โดยดูแลตั้งแต่เรื่อง การอบรมบ่มเพาะ ให้ความรู้ทางด้านธุรกิจที่ทันสมัยตั้งแต่การแสวงหาไอเดีย จับคู่นักวิจัย ไปจนถึงการระดมทุน การช่วยหาแหล่งเงินทุน บริษัทร่วมทุน ให้คำปรึกษา การ Mentoring มีพื้นที่ให้ใช้ในการทำงาน บริการจดจัดตั้งบริษัท เชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาคธุรกิจและเอกชนสำหรับเหล่าสตาร์ทอัพที่พร้อม Spin off เป็นบริษัท ปัจจุบัน นักวิจัยได้รวมตัว จัดตั้งชมรมสปินออฟ (Chula Spin off Club) เพื่อให้เป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนข้อมูล พูดคุย แชร์ประสบการณ์ระหว่างนักวิจัยที่ต้องการประกอบธุรกิจสตาร์ทอัพ ในระบบนิเวศนี้มีการจัดตั้งบริษัท CU Enterprise ซึ่งเป็น โฮลดิ้งคอมพานีของมหาวิทยาลัย เพื่อช่วยระดมทุนและลงทุนในสตาร์ทอัพที่มีศักยภาพ และสถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาฯ (Chulalongkorn University Intellectual Property Institute: CUIP) เพื่อดูแล ด้านสิทธิบัตรและทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงอีกด้วย “iHub เริ่มดูแลตั้งแต่ต้นน้ำ เมื่อนักวิจัยมีความคิดอยากทำนวัตกรรมเชิงพาณิชย์ก็เข้ามาพูดคุยกับเราถึงโอกาส เทคโนโลยีที่มี แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภคและตลาด เข้ารับการบ่มเพาะตามระดับความพร้อม ซึ่งเราแบ่งระดับความพร้อมออกเป็น 7 ระดับ ตั้งแต่ มีแต่ความอยากแต่ยังไม่มีไอเดีย ไปสู่การพัฒนาต้นแบบ ออกสู่ตลาด เติบโต จนถึงการระดมทุนระดับซีรีส์ A แต่ละระดับก็จะได้รับการอบรมบ่มเพาะแตกต่างกันไปตามความพร้อม แต่ถ้าหาก นักวิจัยยังไม่มีความพร้อมแต่งานวิจัยหรือเทคโนโลยีนั้นมีความน่าสนใจ ซึ่งศูนย์วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม – Chulalongkorn University Technology Center (UTC) จะเข้ามาดูแลต่อในช่วงกลางน้ำเพื่อพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ และสุดท้าย ปลายน้ำ เมื่องานวิจัยนั้น ๆ พัฒนาจนสมบูรณ์พร้อมออกสู่ตลาด และนักวิจัยพร้อมที่จะตั้งบริษัท UTC ก็จะส่งต่อให้ iHub เพื่อเข้าสู่กระบวนการจัดตั้งบริษัท หรือ Spin off ต่อไป” ดร.ศันธยา อธิบายการดูแลสตาร์ทอัพจากเริ่มต้นจนปลายทางความสำเร็จ ดร.ศันธยากล่าวเสริมอีกว่าแม้ iHub จะเน้นการตั้งบริษัทนวัตกรรม (Spin off) มากกว่าการการขายลิขสิทธิ์ผลงาน หรือการทำความร่วมมือกับบริษัทอื่น ๆ (Partner) แต่หากสตาร์ทอัพใดไม่พร้อมจะตั้งบริษัท ทาง iHub และ UTC ก็ช่วยหาทางเลือกอื่น ๆ ให้ เช่น นำสินค้านวัตกรรมมาฝากจำหน่ายที่บริษัทนวัตกรรมจามจุรี หรือ ขายลิขสิทธิ์ผลงานนวัตกรรม หรือหาหุ้นส่วนทางธุรกิจให้ เป็นต้น วงจรเรียนรู้และพัฒนานวัตกรรมอย่างไม่สิ้นสุด การสร้างสตาร์ทอัพไม่เป็นเพียงการสร้างมูลค่างานความรู้และวิจัยสู่ตลาดและสังคม แต่ยังสร้างองค์ความรู้ใหม่ ๆ ที่วนกลับมาต่อยอดการเรียนรู้ให้นิสิตและนักวิจัยจุฬาฯ อย่างไม่รู้จบ ซึ่งที่ผ่านมา หลายคณะในจุฬาฯ ก็ได้ปรับกระบวนการเรียนการสอนแล้วเพื่อให้สอดคล้องกับวงจรการเรียนรู้และพัฒนาแบบ Integrated innovation enterprise research and education model เพื่อการเป็น Research university ที่ตอบโจทย์คุณค่าของมหาวิทยาลัยอย่างแท้จริง “การสร้างสตาร์ทอัพให้แข็งแกร่งจนก่อตั้งบริษัทนั้น ถือเป็น “โอกาสทอง” ของอาจารย์นักวิจัย หรือแม้กระทั่งนิสิตที่ผันตัวมาเป็นสตาร์ทอัพ พวกเขาจะได้เห็นโจทย์ปัญหาจริงของสังคม เห็นความต้องการของผู้บริโภคแล้วเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์กลับมาเป็นการสร้างนวัตกรรมที่ต้องผ่านการทำวิจัยซ้ำ หาคำตอบซ้ำไปมา จนได้องค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ซึ่งประสบการณ์ตรงนี้สามารถนำมาสอนในห้องเรียนได้ เกิดการตีพิมพ์ผลงานวิจัยที่มีคุณภาพระดับ Tier 1 เกิดรายได้จากทรัพย์สินทางปัญญา และรายได้นั้นสามารถผันกลับมาช่วยสนับสนุนงานวิจัยอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยได้อีกด้วย เราเชื่อว่า ยิ่งมหาวิทยาลัยสร้างนวัตกรรม ก็ยิ่งเป็นการสร้างโอกาสในการพัฒนาบัณฑิตและผู้นำที่มีคุณภาพ สร้าง Top talent ให้ประเทศ” ดร.ศันธยา กล่าว หลากหลายผลงานสตาร์ทอัพ ความภูมิใจของ iHub จุฬาฯ ทีมสตาร์ทอัพในความดูแลของ iHub สร้างสรรค์นวัตกรรมที่โดดเด่น เน้นรับใช้สังคมใน 5 ด้านสำคัญ ๆ กล่าวคือ ด้านสุขภาพและผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) เศรษฐกิจชีวภาพ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว อาหารและเกษตร (Bio-Circular Green Food & Agricultural) สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) และเทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) หลายผลงานสตาร์ทอัพ จุฬาฯ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง เช่น วัคซีนโควิด-19 จากใบยา โดยบริษัท Baiya Phytopharm Co., Ltd.หรือ แอปพลิเคชัน ViaBus ที่ช่วยอำนวยความสะดวกกับผู้เดินทางด้วยรถสาธารณะ และยังมีอีกหลายตัวอย่าง จุฬาฯ ยังมีสตาร์ทอัพอีกกว่า 50 ทีม ที่มีผลงานออกสู่สังคมในเชิงพาณิชย์ ซึ่งสามารถอ่านข้อมูลความสำเร็จบริษัท Spinoff เพิ่มเติมได้ในรายงาน CU Innovation Hub Report 2018 – 2021 : ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาฯ และบริษัท ซียูเอ็นเทอร์ไพร์ส จำกัด (หน้า 13 – 17) ได้ที่ https://shorturl.asia/pmdgA “ทุกวันนี้ผลงานนวัตกรรมของสตาร์ทอัพจุฬาฯ ได้ออกสู่ตลาดเรื่อย ๆ ต้องขอบคุณศิษย์เก่าจุฬาฯ ภาครัฐและเอกชน ประชาชนทั่วไป ที่ช่วยสนับสนุนเรา และเรายังต้องการการสนับสนุนเช่นนี้จากทุกท่าน โดยเฉพาะศิษย์เก่าจุฬาฯ ทั้งกำลังใจ ความรู้ ประสบการณ์ เครือข่าย และทุนพัฒนานวัตกรรมแก่ทีมจุฬาฯ” ดร.ศันธยา กล่าว Startup กับ iHub เริ่มต้นอย่างไร : How to Startup IHub จุฬาฯ จัดอบรมสตาร์ทอัพ เป็นประจำ โดยผู้สนใจจะได้เรียนรู้กระบวนการสร้างธุรกิจและนวัตกรรม และเสนอแนวคิดสร้างสรรค์ทางนวัตกรรมที่สนใจ ซึ่งงานวิจัยนวัตกรรมที่ iHub ถนัดและให้การสนับสนุนแบ่งเป็น 5 ด้าน คือ สุขภาพ และผู้สูงวัย (Health / Aging) การศึกษา (Education) (Bio-Circular Green Food & Agricultural) เพื่ออุตสาหกรรมทางด้านพลังงานและวัสดุ สุขภาพและการแพทย์ ท่องเที่ยวและบริการ สังคมยั่งยืน (Sustainable Society) เทคโนโลยีเชิงลึก (Deep Tech Supercluster) ทั้งนี้ หากผู้สนใจมีไอเดียทำสตาร์ทอัพอื่น ๆ นอกเหนือจาก 5 ด้านที่กล่าวมานั้น ก็สามารถเข้ามาที่ iHub เพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดได้ “นิสิต นักศึกษา อาจารย์ หรือประชาชนทั่วไป ถ้ามีไอเดียดี ๆ อยากลองทำสตาร์ทอัพ สร้างนวัตกรรมที่ประโยชน์กับสังคม ก็เดินเข้ามาคุยไอเดียกันได้ที่ iHub ไอเดียของคุณอาจทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมในอนาคตได้” ดร.ศันธยา กล่าวเชิญชวน ผู้สนใจอบรมเป็นสตาร์ทอัพกับ iHub และ/ หรือ องค์กรเอกชนที่ต้องการสนับสนุนต่อยอดผลงานของสตาร์ทอัพจากรั้วจุฬาฯ สามารถติดต่อ ศูนย์กลางนวัตกรรมแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (CU Innovation Hub) ตั้งอยู่ที่ อาคารเฉลิมราชกุมารี 60 พรรษา (อาคารจามจุรี 10) ชั้น 19 ซอยจุฬาฯ 12 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ โทร.0-2218-3106 อีเมล cu.innovation.hub@gmail.com เยี่ยมชมเว็บไซต์ https://cuinnovationhub.com
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต