นิทรรศการตลาดนัดหลักสูตร โครงการ “เลือกแนวทาง…วางอนาคต”ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ครั้งที่ 27 EZ WebmasterNovember 17, 2024 เปิดให้ลงทะเบียนแล้ว OPEN HOUSE 2024 ม.เกษตรศาสตร์ บางเขน ครบทุกคณะ . กำหนดการ : 19-20 ธันวาคม 67 วิทยาเขต : บางเขน ค่าใช้จ่าย :… มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
“ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: นักวิจัย ม.ทักษิณ แปรสภาพต้นปาล์มน้ำมันที่เกษตรกรโค่นทิ้ง เป็นบรรจุภัณฑ์กระดาษ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมNEXT Next post: นิสิตคณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ คว้ารางวัลด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน จากโครงการลดปัญหาฝุ่น PM2.5 จากไฟป่าในอุทยานแห่งชาติแม่ปิง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search
ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
tui sakrapee April 18, 2022 tui sakrapee April 18, 2022 จุฬาฯ วิจัยพบปริมาณสาร THC ในเครื่องดื่มกัญชาเกินกำหนด เตือนผู้บริโภคระวัง จี้รัฐควบคุม อาจารย์ชีวเคมี จุฬาฯ เผยผลวิจัย พบเครื่องดื่มกัญชาที่สุ่มตรวจกว่า 30 % มีปริมาณสาร THC เกินกำหนด เตือนผู้บริโภคดื่มแต่น้อย เด็กไม่ควรดื่ม แนะรัฐออกมาตรการควบคุม สื่อสารทั้งคุณและโทษของกัญชา หลังจากที่กัญชาและกัญชงถูกถอดออกจากบัญชียาเสพติด เปิดทางสู่การเป็นพืชเศรษฐกิจ ตลาดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาก็คึกคักและขยายตัวอย่างรวดเร็ว มีทั้งชากัญชา กาแฟกัญชา ตลอดจนตู้ขายเครื่องดื่มอัตโนมัติที่จำหน่ายเครื่องดื่มที่มีกัญชาผสม ปัจจุบัน กัญชาจึงกลายเป็นเครื่องดื่มที่เข้าถึงง่ายและกระจายสู่ทุกกลุ่มผู้บริโภค ข้อมูลจากการประชุมวิชาการศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) เพื่อการพัฒนาศักยภาพการวิจัย และนักวิชาการการเสพติด ครั้งที่ 9 ที่ผ่านมา (กุมภาพันธ์ 2565) เผยว่าคนไทยที่ใช้กัญชามีจำนวนเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ เกือบเท่าตัว โดยผลสำรวจล่าสุด (ปี 2564) มีคนไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่ใช้กัญชา จำนวนประมาณ 1.89 ล้านคน หรือคิดเป็น 4.3% เทียบกับผลสำรวจเมื่อปี 2563 ที่มีผู้ใช้กัญชาอยู่ที่ประมาณ 1 ล้านคน เทรนด์การบริโภคเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกัญชาทำให้แพทย์และนักวิจัยด้านสารเสพติดหลายท่านรู้สึกกังวลถึงผลกระทบของสาร THC ในกัญชา ที่หากผู้บริโภคได้รับในปริมาณที่สูงและอย่างต่อเนื่อง ก็อาจจะส่งผลต่อพัฒนาการของสมอง เสี่ยงต่อการเป็นโรคซึมเศร้า จิตเภท หลอดเลือดหัวใจ และมะเร็งอัณฑะ เป็นต้น จุฬาฯ นำร่องงานวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา ด้วยความห่วงใยต่อสุขภาพของผู้บริโภค รองศาสตราจารย์ ดร.เกื้อการุณย์ ครูส่ง อาจารย์ประจำภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้นำร่องศึกษาวิจัยหาปริมาณสาร ∆9-THC หรือ delta9-tetrahydrocannabidol ในเครื่องดื่มกัญชาที่จำหน่ายในร้านขายเครื่องดื่มทั่วไป เพื่อหาว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดหรือไม่ “เมื่อมีการนำกัญชามาเป็นส่วนประกอบในอาหารและเครื่องดื่มอย่างเสรี ทำให้คนทั่วไป รวมถึงเด็กและเยาวชนสามารถเข้าถึงได้ง่าย สื่อหรือโฆษณาต่างๆ ก็มักพูดถึงแต่ข้อดีของกัญชา ไม่ว่าจะเป็นการนำมาใช้ทางสันทนาการ หรือนำมารักษาโรค โดยลืมไปว่าผลเสียหรือโทษของกัญชาก็ยังคงมีอยู่หากได้รับในปริมาณที่เกินกำหนด แพทย์หลายท่านก็ออกมาเตือนด้วยว่าไม่ให้เด็กรับประทานโดยเด็ดขาด เนื่องจากอาจส่งผลต่อระบบประสาท สมองและพัฒนาการของเด็ก รวมทั้งจิตแพทย์ก็ชี้ว่าสาร ∆9-THC ในกัญชามีผลต่อสุขภาพจิต สมาธิ และเรื่องของภาวะอารมณ์ด้วย” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เล่าถึงที่มาของโครงการวิจัย ภายใต้การสนับสนุนทุนวิจัยจากศูนย์ศึกษาปัญหาการเสพติด (ศศก.) โครงการวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญหลายท่านที่เข้ามาร่วมวิจัย อาทิ รองศาสตราจารย์ พญ.รัศมน กัลยาศิริ จากภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ และผู้อำนวยการ ศศก. เป็นที่ปรึกษางานวิจัย รองศาสตราจารย์ ภญ.ดร.สรกนก วิมลมั่งคั่ง ภาควิชาเภสัชเวทและเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาฯ ซึ่งทำวิจัยเกี่ยวกับกัญชาและสารธรรมชาติจากกัญชาอยู่ก่อนแล้ว เข้ามาช่วยให้คำแนะนำ ศาสตราจารย์ ดร.อรวรรณ ชัยลภากุล และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชฎิล กุลสิงห์ จากภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ที่มีความเชี่ยวชาญด้านการวิเคราะห์ มาช่วยดูเรื่องปริมาณสาร ∆9-THC ในเครื่องดื่มที่เก็บตัวอย่างมา ผลการสุ่มตรวจปริมาณ ∆9-THC ในเครื่องดื่มกัญชา คณะผู้วิจัยได้เก็บตัวอย่างเครื่องดื่มกัญชาและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชา ที่ขายอยู่ทั่วไปในร้านขายเครื่องดื่มและคาเฟ่ต่างๆ ในกรุงเทพมหานคร 30 กว่าตัวอย่าง มีทั้งเครื่องดื่มประเภทชา กาแฟ โซดา และประเภทที่ใส่นม โดยกรรมวิธีการตรวจสอบตัวอย่างเครื่องดื่มนั้นใช้วิธีมาตรฐานระดับสากลที่ใช้ตรวจหาสาร ∆9-THC ในอาหาร ได้แก่เทคนิคที่เรียกว่า GC–MS (Gas chromatography–Mass spectroscopy) ซึ่งเป็นเทคนิคที่ใช้แยกและระบุสารต่างๆ ภายในตัวอย่างทดสอบ และ HPLC (High Performance Liquid Chromatography) ในการแยกสารผสมและการหาเชิงปริมาณของสารเป้าหมาย โดยใช้เครื่องสูบแรงดันสูง (high pressure pump) “ถามว่าเพราะอะไรจึงต้องเป็นเฉพาะเครื่องดื่มกัญชาจากร้านทั่วไป คือหากเป็นเครื่องดื่มกัญชาประเภทสำเร็จรูป พวกนั้นจะมีการขอ อย. และมีฉลากแสดงชัดเจนว่ามีส่วนประกอบของสาร ∆9-THC ปริมาณเท่าไรต่อ 100 มิลลิลิตร หรือต่อ 1 หน่วยบริโภค แต่เครื่องดื่มที่ขายในร้านประเภทคาเฟ่ ส่วนมากสูตรของเครื่องดื่มจะทำกันขึ้นมาเอง แม้กระทั่งเมนูเดียวกัน ก็ไม่อาจแน่ใจได้เลยว่าแต่ละแก้วมีปริมาณสาร ∆9-THC เท่ากันหรือเปล่า ซึ่งเป็นสิ่งที่น่ากลัว” สำหรับผลการสุ่มตรวจหาปริมาณสาร ∆9-THC ดังกล่าว รศ.ดร.เกื้อการุณย์ เผยว่า “เครื่องดื่มที่สุ่มตรวจส่วนใหญ่มีสาร ∆9-THC ในปริมาณที่ไม่เกินจากที่สาธารณสุขกำหนด แต่ราว 30 % พบว่ามีปริมาณสาร ∆9-THC เกินกว่าที่กฎหมายกำหนดหรือแนะนำให้ไม่เกิน 0.015 มิลลิกรัม ต่อ 100 มิลลิลิตร ซึ่งหากผู้บริโภคเจอร้านหรือดื่มเครื่องดื่มที่มีปริมาณสาร THC เกินกำหนดเหล่านี้ก็จะเกิดอันตรายต่อสุขภาพได้ โดยเฉพาะสำหรับผู้ที่มีอาการแพ้สาร ∆9-THC” อย่างไรก็ดี งานวิจัยไม่สามารถเปิดเผยหรือระบุว่าเครื่องดื่มใด จากร้านใด มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไร แต่อาจนำเสนอในรูปแบบรายงานของ ศศก. ซึ่งเป็นหน่วยงานภายใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำหรับงานด้านนโยบายต่อไปในอนาคต งานวิจัยสำหรับปีนี้ (2565) ใกล้เสร็จสมบูรณ์แล้ว และในอนาคต รศ.ดร.เกื้อการุณย์ คาดว่าจะวิจัยโดยมีการเก็บตัวอย่างมากขึ้น อาจจะเป็นการขยายพื้นที่เก็บตัวอย่างไปยังส่วนภูมิภาค หรือเก็บตัวอย่างในอาหารชนิดอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากเครื่องดื่ม แนะบริโภคกัญชาอย่างปลอดภัย สำหรับผู้บริโภค สิ่งที่ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ รู้สึกเป็นกังวลคือปริมาณของสาร ∆9-THC ที่ได้รับต่อวัน ด้วยประเทศไทยยังไม่เคยมีการกำหนดหรือมีข้อแนะนำว่าควรหรือไม่ควรบริโภคในปริมาณเท่าไรต่อวัน ยกตัวอย่างเช่น ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ไม่ควรบริโภคเกินกี่ไมโครกรัม หากเกินกว่านั้นอาจจะได้รับผลข้างเคียง เป็นต้น ซึ่งแม้แต่ในต่างประเทศเองก็ยังไม่ชัดเจนนัก เพราะยังไม่มีงานวิจัยในเรื่องผลระยะยาวจากการบริโภค ทั้งนี้ อาจจะกำหนดการบริโภคเครื่องดื่มกัญชาหรือที่มีส่วนผสมของกัญชาให้เหมือนเครื่องดื่มชนิดอื่นๆ เช่น เครื่องดื่มชูกำลัง ที่มีคำเตือนที่คุ้นหูว่าไม่ควรดื่มเกินวันละ 2 ขวด เป็นตัวอย่าง “แม้แต่ร้านค้าหรือผู้ประกอบการเอง ปัจจุบันก็น่าจะยังไม่ทราบด้วยซ้ำว่าห้ามไม่ให้มีปริมาณสาร ∆9-THC เท่าไรต่อเครื่องดื่ม 1 แก้ว หรือต่อให้ทราบ ก็ไม่น่าจะสามารถควบคุมปริมาณได้ เพราะไม่เคยมีการตรวจ อีกทั้งกรรมวิธีที่ใช้ในการผลิตของแต่ละร้านก็ต่างกัน หากใช้ใบนำมาต้มผสมเครื่องดื่ม อันนั้นอาจจะไม่ค่อยน่าห่วง เพราะได้ปริมาณสาร ∆9-THC ออกมาค่อนข้างน้อย แต่ถ้ามีการสกัดด้วยความร้อน หรือใช้เป็นน้ำมันสกัด อันนั้นน่ากังวลมาก และไม่มีทางที่ผู้ประกอบการจะรู้เลยว่า อาหารหรือเครื่องดื่มของตนต่อ 1 serve มีปริมาณ ∆9-THC เท่าไร” ด้วยเหตุนี้ รศ.ดร.เกื้อการุณย์ จึงแนะนำผู้ที่ต้องการทดลองดื่มเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือกัญชงให้ใช้ความระมัดระวังและบริโภคแต่น้อย เพื่อไม่ให้ร่างกายได้รับสาร ∆9-THC มากจนเกิดอันตราย และไม่แนะนำเด็ดขาดสำหรับเด็กในวัยเรียน เนื่องจากยังไม่ทราบผลในระยะยาว เสนอรัฐควบคุมร้านค้าจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มกัญชา ร้านที่ขายเครื่องดื่มกัญชาหรืออาหารที่ผสมกัญชา ควรมีป้ายหรือประกาศแจ้งให้ผู้บริโภครับทราบอย่างชัดเจน เพื่อผู้ที่ไม่ต้องการบริโภคผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมกัญชาและผู้ปกครองจะได้ระมัดระวัง แนะสื่อนำเสนอทั้งคุณและโทษของกัญชา การส่งเสริมจากภาครัฐเพื่อพัฒนากัญชาและกัญชงให้เป็นพืชเศรษฐกิจมีส่วนทำให้หลายฝ่าย รวมถึงสื่อ เน้นกล่าวถึงคุณประโยชน์ของกัญชา โดยละเลยและมองข้ามโทษของกัญชา “ปัจจุบัน ในสื่อต่างๆ มักจะนำเสนอแต่ด้านและประโยชน์ของกัญชา ในฐานะพืชสมุนไพรที่สร้างรายได้ มีการปรับปรุงบรรจุภัณฑ์ให้ดึงดูด ทำให้เห็นว่าเป็นสินค้าน่าซื้อ ไม่มีอันตราย ซึ่งหากมีใครออกมาพูดถึงข้อเสีย เสียงก็คงไม่ดังเท่าไร เพราะเป็นด้านที่ไม่ทำเงินและฟังดูล้าสมัย” “แต่เราไม่อาจปฏิเสธได้ว่ากัญชาก็ยังมีด้านที่เป็นโทษ จริงๆ แล้ว ในกัญชามีสารอีกหลายตัวที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ แต่ตัวที่มีผลเสียมากที่สุดก็คือสาร ∆9-THC นี่แหละ หากบริโภคโดยไม่ระวัง โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนที่มักจะอยากรู้อยากลองและบริโภคตามกระแส จึงอยากให้มีการรณรงค์ทั้งสองด้าน คือ พูดเรื่องประโยชน์ แต่ก็ไม่ลืมเรื่องโทษด้วยเช่นกัน” รศ.ดร.เกื้อการุณย์ กล่าวเน้นด้วยความห่วงใย แม้ในปัจจุบัน กัญชาและกัญชงจะได้รับการปลดล็อคถอดออกจากบัญชียาเสพติดแล้ว แต่ไม่ได้หมายความว่าจะสามารถใช้ได้โดยทั่วไปอย่างเสรี หากมีปริมาณสาร ∆9-THC เกิน 0.2% โดยน้ำหนัก ตามประกาศคณะกรรมการควบคุมยาเสพติด ก็ยังถือว่าเป็นยาเสพติด ดังนั้น ผู้บริโภคควรระมัดระวังในการรับประทานอาหารและเครื่องดื่มที่ผสมกัญชาหรือสารสกัดจากกัญชาเพื่อหลีกเลี่ยงอันตรายจากกัญชาที่อาจส่งผลต่อสุขภาพในระยะยาว
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability