นิทรรศการตลาดนัดหลักสูตร โครงการ “เลือกแนวทาง…วางอนาคต”ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ครั้งที่ 27 EZ WebmasterNovember 17, 2024 เปิดให้ลงทะเบียนแล้ว OPEN HOUSE 2024 ม.เกษตรศาสตร์ บางเขน ครบทุกคณะ . กำหนดการ : 19-20 ธันวาคม 67 วิทยาเขต : บางเขน ค่าใช้จ่าย :… มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่…
สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
“ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328 tui sakrapee Related Posts “4 วิชากฎหมายอนาคต” เปิดตัวหลักสูตรนิติศาสตร์สุดล้ำจาก ม.หอการค้าไทย ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: คหกรรม มทร.ธัญบุรี โชว์ผลงานวิชาชีพ-วิชาการ “สืบสานงานศิลป์ สู่นวัตกรรมชุมชน”NEXT Next post: สสวท. จับมือ สพฐ. เชิญครูร่วมส่งผลงานการจัดการเรียนรู้ในการประกวดผลงานดีเด่นด้าน Coding (Coding Achievement Awards) — หมดเขต 15 กรกฎาคม 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search
ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
tui sakrapee June 7, 2022 tui sakrapee June 7, 2022 หยั่งอนาคตชาติ เข้าใจ “อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย” จุฬาฯ คว้ารางวัลผลงานวิจัยดีมาก จาก วช. ปี 2565 นักวิจัยจุฬาฯ ระดมความร่วมมือนักวิจัยสหสาขาวิชา หาอัตลักษณ์และทัศนคติของชาวดิจิทัลไทย หวังลดช่องว่างระหว่างวัย สร้างความเข้าใจในการอยู่ร่วมกันในสังคม “มนุษย์ป้า” ถ้อยคำที่อาจสะเทือนใจใครหลายคน แต่สำหรับรองศาสตราจารย์ ดร.จุลนี เทียนไทย ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คำสั้นๆ นี้ช่วยเปิดพื้นที่การสนทนาระหว่างอาจารย์กับนิสิตเมื่อ 3 ปีก่อน จนทำให้ได้ร่างความคิดยาว 3-4 หน้ากระดาษ อันเป็นที่มาของงานวิจัย “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยดีมาก สาขาสังคมวิทยา ประจำปี 2565 จากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) “ชาวดิจิทัลไทยคืออนาคตของชาติ พวกเขาเป็นกลุ่มที่มีบทบาทสำคัญในการพัฒนาประเทศ เป็นทั้งกำลังคน เป็นผู้กำหนดทิศทางการเมือง ระบบการศึกษา ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ชาวดิจิทัลไทยในปัจจุบันจะเป็นผู้ส่งผ่านแนวคิดและทัศนคติไปสู่คนรุ่นต่อไปในอนาคต” รศ.ดร.จุลนี เผยถึงความสำคัญของงานวิจัยชิ้นนี้ งานวิจัยชิ้นนี้ให้องค์ความรู้ใหม่เกี่ยวกับกระบวนการคิด ทัศนคติ พฤติกรรมของชาวดิจิทัลไทย ซึ่ง ที่ผ่านมายังไม่เคยมีการศึกษาวิจัยในเรื่องเช่นนี้ในประเทศไทยมาก่อน “พ่อแม่ผู้ปกครองจะได้เข้าใจลูกหลาน นายจ้างจะได้เข้าใจลูกน้องมากยิ่งขึ้น ครู อาจารย์และสถาบันการศึกษาก็สามารถนำผลการวิจัยไปปรับรูปแบบและวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนมากขึ้นด้วย” รศดร.จุลนี ยกตัวอย่างแนวทางการนำงานวิจัยไปใช้ในมิติต่างๆ ของสังคม สหสาขาวิชาร่วมมือวิจัย เข้าใจชาวดิจิทัลไทย งานวิจัยชิ้นนี้ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และอยู่ภายใต้แผนงานบูรณาการยุทธศาสตร์เป้าหมายด้านสังคม “คนไทย 4.0” โดยได้รับความร่วมมือจากคณาจารย์ผู้ร่วมวิจัยจากสาขาต่างๆ อาทิ รัฐศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ประชากรศาสตร์ ฯลฯ จากหลายสถาบัน ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยรามคำแหง และมหาวิทยาลัยนครพนม กว่า 7 เดือน คณะผู้วิจัยลงภาคสนามทำวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากกลุ่มประชากรชาวดิจิทัลไทยวัย 13– 38 ปี ทั้งสิ้นจำนวน 910 คน อยู่ใน 3 พื้นที่ คือ 1) กรุงเทพมหานคร (เขตชั้นใน เขตชั้นกลาง และเขตชั้นนอก) ซึ่งเป็นตัวแทนเมืองหลวง 2) จังหวัดเชียงใหม่ในฐานะเมืองหลัก และ3) จังหวัดนครพนมในฐานะเมืองรอง นอกจากนี้ ยังสัมภาษณ์ผู้ปกครอง ครู อาจารย์ และนายจ้าง ซึ่งเป็นผู้ที่เกี่ยวข้องกับชาวดิจิทัล เพื่อให้ได้ข้อมูลความคิดเห็นที่หลากหลาย “ชาวดิจิทัลไทยในงานวิจัยชิ้นนี้ถูกจัดอยู่ในเจน Y และเจน Z มีอยู่ด้วยกัน 5 กลุ่ม คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย นิสิตนักศึกษาในมหาวิทยาลัย ผู้ที่เริ่มเข้าสู่วัยทำงาน และผู้ที่อยู่ในวัยทำงานตอนกลาง คนกลุ่มนี้โดยเฉพาะกลุ่มเจน Z อายุระหว่าง 7 – 25 ปี เป็นกลุ่มที่เกิดและเติบโตพร้อมกับเทคโนโลยี ใช้ชีวิตส่วนใหญ่ทั้งการเรียน การทำงานผ่านคอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่มีความสำคัญต่อการขับเคลื่อนประเทศไทยในโลกยุคดิจิทัลอย่างยิ่ง” เป้าหมายหลักในการวิจัยคือการทำความเข้าใจอัตลักษณ์ของชาวดิจิทัลไทย ความรู้ ทักษะ ทัศนคติที่จำเป็นในการเรียนการสอนและการทำงาน รวมถึงภาพอนาคต ความกลัว ความฝัน และความหวังในมุมมองของชาวดิจิทัลไทย ทั้งหมดนี้ผ่านกระบวนการวิจัยที่ใช้เทคนิควิธีหลากหลาย อาทิ แบบสอบถามสัมภาษณ์ (survey interview questionnaire) การรวบรวมคำศัพท์ (free-listing) การวาดภาพเชิงพรรณนา (pictorial ethnography) และการสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semi-structured interview) ประเภทการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (in-depth interview) รวมไปถึงการวิจัยการสกัดและวิเคราะห์ข้อความออนไลน์ (online text extraction and analysis) จากทวิตเตอร์ “ประเด็นเหล่านี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเข้าถึงและเข้าใจคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ผู้ซึ่งได้รับผลกระทบจากพัฒนาการทางเทคโนโลยีอย่างชัดเจน อีกทั้งสะท้อนให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของพวกเขาโดยผ่านการนิยามตนเอง ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อมูลสะท้อนกลับต่อสังคมถึงสิ่งที่ชาวดิจิทัลเห็นว่าเป็นความรู้ ทักษะ และทัศนคติที่จำเป็นต่อการใช้ชีวิตของพวกเขาในปัจจุบันและในอนาคต เพื่อให้ผู้ใหญ่ คนต่างวัย หรือแม้แต่ผู้ที่มีบทบาทในการกำหนดนโยบายได้รับรู้และเข้าใจว่าชาวดิจิทัลตีความหรือมีความคิดเห็นต่อสิ่งเหล่านี้อย่างไร ซึ่งจะมีความสำคัญต่อการดูแล พัฒนาและส่งเสริมการใช้ชีวิตให้กับคนกลุ่มนี้ ไม่ว่าจะเป็นด้านการศึกษาหรือการทำงานก็ตาม” อัตลักษณ์ชาวดิจิทัลไทย การให้คำนิยาม “ชาวดิจิทัล” ที่พบเห็นกันโดยทั่วไปและในงานวิจัยในโลกตะวันตกนั้นมักยึดโยงกับช่วงอายุเป็นหลัก แต่ผลการวิจัยชิ้นนี้สะท้อนให้เห็นเพิ่มเติมว่า “ความเป็นชาวดิจิทัลไทย” ไม่จำเป็นต้องยึดโยงกับอายุที่เป็นเพียงตัวเลข “เพราะแต่ละบุคคลมีทั้งความเป็นรุ่นเก่าและรุ่นใหม่อยู่ในตัว” รศ.ดร.จุลนี กล่าวพร้อมสรุปคุณลักษณะสำคัญของชาวดิจิทัลไทย 3 ประการ ได้แก่ เป็นผู้ที่เปิดรับความคิดเห็นคนอื่น ยอมรับความแตกต่าง ยินดีปรับเปลี่ยน ไม่ยึดติดกับรูปแบบความคิดของตัวเอง ใช้เทคโนโลยีเป็น ทั้งการทำงาน การพักผ่อน การติดต่อสื่อสาร ที่สำคัญคือ รู้เท่าทันเทคโนโลยี เช่น ไม่ ส่งต่อข้อมูลที่เป็นเท็จ ข้อมูลที่ถูกบิดเบือน (Fake News) มีไลฟ์สไตล์เป็นของตนเอง ไม่ยึดติดกับกรอบความคิดเดิมๆ เช่น ชาวดิจิทัลไทยห่วงใยดูแลสุขภาพ รู้จักการสร้างความสมดุลในการทำงานและชีวิตส่วนตัว (Work-Life Balance) มักกลัวการตกกระแส ชอบติดตามข่าวสารการเปลี่ยนแปลง มีความเข้าใจในการใช้ภาษาของวัยต่างๆ ในแต่ละกลุ่มคน “วิถีชีวิตหรือไลฟ์สไตล์ของชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับกรอบหรือรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง คุณลักษณะเหล่านี้สามารถปรากฏได้ในประชากรทุกเพศทุกวัยเช่นกัน หรือที่เรียกได้ว่า Stay Young Forever นั่นเอง” คุณลักษณะของชาวดิจิทัลไทยหลายประการมีความคล้ายคลึงกับชาวดิจิทัลในต่างประเทศ แต่ก็มีบางเรื่องที่แตกต่างกัน เช่น ประเด็นการตัดสินใจที่มีความเป็นอิสระ การรักความสนุกสนาน และความรู้สึกผสมทั้งความมั่นใจและไม่มั่นใจในการแสดงออกทางสื่อ Social Media เป็นต้น รศ.ดร.จุลนี อธิบายว่า “ชาวดิจิทัลทั้งในตะวันตกและไทยมีความรักในอิสรภาพ (freedom) แต่วิธีการตีความ “อิสรภาพ” หรือสถานการณ์อาจมีความแตกต่างกัน ยกตัวอย่าง ชาวดิจิทัลไทยตีความ “อิสรภาพ” ว่าคือการทำและตัดสินใจได้อย่างอิสระ ซึ่งกลับกลายเป็นว่าการมีโทรศัพท์มือถือเป็นทั้งเครื่องมือที่ช่วยสร้างความเป็นอิสระ แต่ในขณะเดียวกันก็ริดรอนอิสระด้วย เพราะใช้มือถือในลักษณะที่เราเองต้องตกเป็นทาสหรือขาดสิ่งนี้ไม่ได้ เป็นต้น” อีกหนึ่งคุณลักษณะเด่นของชาวดิจิทัลไทยคือการแสดงอารมณ์ขันหรือความตลกปนการล้อเลียน ที่ผสมกลมกลืนกับเรื่องราวหรือสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในโลกความเป็นจริงและโลกเสมือนจริง (ออนไลน์) นอกจากนี้ ยังมีลักษณะความมั่นใจที่ปะปนกับความไม่มั่นใจในตัวเอง “ในเรื่องนี้ ยกตัวอย่างชาวดิจิทัลไทยชอบ selfie โพสต์รูปตัวเอง โพสต์สิ่งต่างๆ เพื่อแสดงความ โดดเด่นแตกต่าง แต่ในขณะเดียวกันก็ไม่อยากที่จะแตกต่าง กลัวตกกระแส ซึ่งแสดงว่ามีความมั่นใจที่ซ่อนความไม่มั่นใจเอาไว้อยู่ เป็นต้น” เทคโนโลยี สื่อกลางเติมช่องว่างระหว่างวัย ในบริบทสังคมไทยที่ก้าวเข้าสู่ความเป็นสังคมสูงอายุ (Aging Society) อย่างสมบูรณ์ ประชากรสูงวัยเพิ่มจำนวนขึ้นเรื่อยๆ ช่องว่างระหว่างวัยก็ดูจะถ่างและห่างขึ้นอย่างเลี่ยงไม่ได้ อย่างไรก็ตาม งานวิจัยชิ้นนี้ชี้ว่าชาวดิจิทัลไทยยังให้คุณค่ากับความสัมพันธ์ในครอบครัว และเห็นช่องทางการลดช่องว่างระหว่างวัยในครอบครัวด้วยเทคโนโลยี “สถาบันครอบครัวมีบทบาทสูงมากในสังคมไทย ชาวดิจิทัลไทยยังคงยึดโยงกับครอบครัว ซึ่งปัจจุบันเชื่อมกันได้ด้วยเทคโนโลยี ชาวดิจิทัลไทยสามารถสอนให้ผู้ใหญ่และผู้สูงวัยในครอบครัวใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีและสอนให้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อสมัยใหม่ เช่น Facebook หรือ LINE ที่จะเป็นช่องทางเชื่อมต่อคนระหว่างวัยและสร้างความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว” วิถีชาวดิจิทัลกับทิศทางการกำหนดนโยบายสู่อนาคต ผลงานวิจัยเรื่องนี้เป็นองค์ความรู้ใหม่ที่มีคุณค่าตั้งแต่ระดับครอบครัว องค์กรภาครัฐและเอกชน ไปจนถึงการวางแผนเชิงนโยบายระดับประเทศ โดยเฉพาะในแวดวงการศึกษาเรียนรู้ “วิธีการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความเป็นชาวดิจิทัล ได้แก่ การเรียนรู้ที่ควบคู่กับการปฏิบัติ โดยเฉพาะการแสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่าสิ่งที่เรียนรู้นั้นสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงกับการใช้ชีวิตในมิติต่างๆ ได้อย่างไร” รศ.ดร.จุลนี กล่าว ชาวดิจิทัลไม่ยึดติดกับการเรียนในสถาบันการศึกษาอย่างที่เคยเป็นมา พื้นที่ของการเรียนรู้ชาวดิจิทัลขยายขอบเขตครอบคลุมทั้งพื้นที่ทางกายภาพเดิมและพื้นที่บนโลกออนไลน์ ซึ่งทั้งหมดนั้นมีผลต่อทักษะ วิธีคิด ตลอดจนพฤติกรรมของพวกเขา “วิถีชีวิตของชาวดิจิทัลรุ่นใหม่นั้นรวดเร็ว การรับรู้ข่าวสารสามารถทำได้มากกว่าหนึ่งทางในเวลาเดียวกัน การทำให้สั้นและกระชับเป็นสิ่งชาวดิจิทัลรุ่นใหม่ต้องการ สำหรับชาวดิจิทัล ครูไม่ใช่ผู้ให้ความรู้หรือศูนย์กลางของข้อมูลอีกต่อไป แต่เป็นผู้กระตุ้นการเรียนรู้ผ่านการใช้สื่อการสอนรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นกระบวนการคิดของผู้เรียนเป็นหลัก” รศ.ดร.จุลนี กล่าวในที่สุด จากชาวดิจิทัลไทย ปัจจุบัน รศ.ดร.จุลนี กำลังศึกษาวิจัยเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพและเอกลักษณ์แรงงานอาชีวศึกษาไทยใน 3 อุตสาหกรรมหลัก: การวิเคราะห์ผ่านแผนที่เส้นทางการก้าวเข้าสู่แรงงานอาชีวศึกษาไทย ภายใต้แนวคิดความปกติใหม่” ซึ่งเป็นงานวิจัยที่มองคุณค่า จุดเด่น และเอกลักษณ์ของอาชีวศึกษาในแง่มุมต่าง ๆ ที่ยังไม่ค่อยมีใครนำมาเผยแพร่ให้คนในสังคมทั่วไปได้มองเห็นหรือรับรู้มากนัก ผู้สนใจสามารถติดตามผลการวิจัยเรื่อง “การสร้างความเข้าใจในคุณลักษณะ พฤติกรรมและทัศนคติในอนาคตของชาวดิจิทัลไทย” เพิ่มเติมในรูปแบบ E-book ได้ที่เว็บไซต์แผนงานคนไทย 4.0 https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=77 สามารถรับชมผลงานสื่อภาพยนตร์สั้นที่สร้างจากผลการศึกษาบางส่วนของงานวิจัยได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/academies_knowledge_video_detail.php?id=5&sub_category_id=32&content_id=45 หรือดาวน์โหลดรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ได้ที่ https://www.khonthai4-0.net/content_detail.php?id=328
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability