โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี Post navigation PREVIOUS Previous post: ทีมหุ่นยนต์ iRAP Robot มจพ. คว้ารางวัลในการแข่งขันหุ่นยนต์กู้ภัยโลก World RoboCup Rescue 2022NEXT Next post: เรียนครู เรียนที่ไหนดี? เรียนอะไรบ้าง? Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster August 22, 2022 EZ Webmaster August 22, 2022 ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง เพิ่มทักษะที่หลากหลายก้าวทันเทรนด์เทคโนโลยี ม.ธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) 19 สิงหาคม 2565 – คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ในงาน TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรม ในโอกาสครบรอบ 33 ปีของ TSE พร้อมเดินหน้าบูรณาการทักษะและองค์ความรู้ เพื่อการสร้างวิศวกรยุคใหม่ ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทักษะที่หลากหลาย ขับเคลื่อนตลาดแรงงานศักยภาพสูง ภายใต้โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. หรือ TEPE (Thammasat English Programme of Engineering) ได้แก่ 1) หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) 2) หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) 3) หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) 4) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) พร้อมโชว์ 4 นวัตกรรมต้นแบบที่พร้อมตอบโจทย์ภาคธุรกิจ-อุตสาหกรรมแห่งอนาคต อาทิ AIคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือนที่ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง และการซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ทั้งนี้ TSE ได้จัดกิจกรรม “TEP-TEPE: The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ที่คณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ. (ศูนย์รังสิต) โดยได้รับความสนใจจากผู้บริหารจากหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สำหรับผู้ที่สนใจเกี่ยวกับการเปิดตัวหลักสูตรใหม่ วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการของ TSE (โครงการ TEPE) สามารถติดตามรายละเอียดได้ที่เว็บไซต์ www.engr.tu.ac.th และ Facebook Fanpage ของ TSE ที่ www.facebook.com/ENGR.THAMMASAT รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร เจียศิริพงษ์กุล คณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat School of Engineering) หรือ TSE เผยว่า TSE ในฐานะผู้นำหลักสูตร วิศวะฯ นานาชาติ ของประเทศไทยมากว่า 3 ทศวรรษ ได้เล็งเห็นถึงการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม ที่ส่งผลให้คนรุ่นใหม่ต้องปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น โดยในปีนี้ TSE ได้ร่วมเดินทางพร้อมคนรุ่นใหม่ ส่งต่อองค์ความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมจากรุ่นสู่รุ่น มาถึงปัจจุบันเป็นปีที่ 33 ปีแล้ว จึงได้มีการทบทวนบทบาทของสถาบันการศึกษาด้านวิศวกรรม ที่เป็นส่วนสำคัญของห่วงโซ่การพัฒนาคนรุ่นใหม่ ซึ่งขณะนี้ TSE มีความพร้อมต้อนรับนักศึกษาใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ปีการศึกษา 2566 ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education” ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ โดย TSE มุ่งเน้นการบูรณาการทักษะตามความต้องการของอนาคต เพื่อพัฒนา “วิศวกรศักยภาพสูง” ที่มีทักษะความรู้หลากหลาย เพื่อสร้างโอกาสให้กับคนรุ่นใหม่ ให้มีทักษะความรู้หรือคุณสมบัติที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ในปีการศึกษา 2566 ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการพลิกโฉมครั้งสำคัญของ โครงการหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตหลักสูตรนานาชาติ (Thammasat English Programme of Engineering) หรือ TEPE ที่มีการจัดการเรียนการสอน 4 ปี ที่ มธ. โดย TSE ได้พัฒนาหลักสูตรใหม่ เพื่อเพิ่มทักษะ ‘วิศวกรยุคใหม่’ ให้พร้อมเป็นผู้นำด้านการพัฒนาบุคลากรด้าน วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ ผ่าน 4 หลักสูตรใหม่ ที่เตรียมเปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ในปีการศึกษา 2566 ดังนี้ หลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าและข้อมูล (Electrical and Data Engineering) หลักสูตรที่เน้นองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า ควบคู่กับความรู้ทางด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบ IOT, AI, Coding, Cloud Computing รวมถึงการประมวลผล (Data Analytic) เพื่อนำข้อมูลมาใช้งาน ซึ่งสามารถนำไปต่อยอดในสายอาชีพวิศวกรไฟฟ้า วิศวกรคอมพิวเตอร์ และนักวิเคราะห์ข้อมูล หลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ (Civil Engineering and Real Estate Development) หลักสูตรที่ผสมผสานองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมโยธาที่เกี่ยวกับการก่อสร้างที่ได้มาตรฐาน มีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสิ่งแวดล้อม รวมถึงวางแผนการพัฒนาเมืองและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทั้งนี้ สามารถประกอบอาชีพในกลุ่มงานต่าง ๆ ได้ดังนี้ วิศวกรโยธา นักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ นักธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ นักวางผังเมือง หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกลและการจัดการอุตสาหกรรม (Mechanical Engineering and Industrial Management) หลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตวิศวกรเครื่องกลที่มีองค์ความรู้ทางด้านการบริหารอุตสาหกรรม โดยการ บูรณาการองค์ความรู้หลากหลายแขนง อาทิ ความรู้ทางด้านวิศวกรรมเครื่องกล ระบบไอโอที (IoT) ระบบออโตเมชั่น (Automation) รวมถึงความรู้ทางด้านการจัดการอุตสาหกรรม ทั้งนี้ บัณฑิตวิศวกรสามารถก้าวสู่เส้นทางอาชีพต่างๆ ได้ อาทิ วิศวกรเครื่องกล วิศวกรโรงงาน วิศวกรโครงการ (Project Management System Engineer) หลักสูตรวิศวกรรมเคมีและการจัดการ (Chemical Engineering and Management) สำหรับสาขานี้นอกจากผู้เรียนจะได้รับความรู้ทางด้านวิศวกรรมเคมีที่ครบถ้วน ยังเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ทางด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product design) การจัดการทางวิศวกรรม รวมถึงความรู้ในการเป็นผู้ประกอบการทางเทคโนโลยี ที่พร้อมก้าวสู่การเป็นการเป็นวิศวกรเคมี หรือนักธุรกิจ/สตาร์ทอัพ (Start-up) ผลิตภัณฑ์ความงามได้ในอนาคต นอกจากนี้ TSE ยังต่อยอดความสำเร็จของโครงการหลักสูตรวิศวกรรมบัณฑิตสองสถาบัน (Twinning Engineering Program) หรือ TEP ที่จัดการเรียนการสอนด้วยภาษาอังกฤษตลอดหลักสูตร ในรูปแบบ 2+2 คือ 2 ปีแรกที่ มธ. และผู้เรียนสามารถ เลือกศึกษาต่ออีก 2 ปี กับมหาวิทยาลัยต่างประเทศที่เป็นคู่สัญญาของ TSE ได้แก่ มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม สหราชอาณาจักร (The University of Nottingham) มหาวิทยาลัยเคยู เลอเฟิน ประเทศเบลเยียม (KU Leuven) และมหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ประเทศออสเตรเลีย (UNSW,Sydney) โดย TSE มีแผนในการพัฒนาเครือข่ายด้านการศึกษากับมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศให้มากขึ้น เพื่อรองรับความต้องการที่หลากหลายของคนรุ่นใหม่อีกด้วย ครบรอบ 33 ปี! วิศวะฯ มธ. เปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ “วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ” ตอบโจทย์ วิศวกรยุคใหม่ศักยภาพสูง รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเพิ่มเติมว่า การเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญของ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ได้รับการความร่วมมือจากหน่วยงานพันธมิตร (Partnership) 3 หน่วยงานที่พร้อมเคียงข้างคนรุ่นใหม่ไปพร้อมกัน ประกอบด้วย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง มธ. หรือ TDS ที่ได้ร่วมพัฒนาหลักสูตรวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สู่อีกขั้นของการบูรณาการทักษะด้านวิศวกรรมโยธาและการออกแบบ ซึ่งเปิดโอกาสให้นักศึกษาทั้ง 2 คณะ สามารถลงทะเบียนเพื่อเก็บหน่วยกิจในรายวิชาที่เกี่ยวข้องได้ ซึ่ง TSE และ TDS ได้จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ภายในงานอีกด้วย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ที่มุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมด้านวิศวกรรม พร้อมการถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์จากตัวจริงด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ พร้อมทั้งการพัฒนาโปรเจคสู่การใช้งานจริงในชั้นเรียน มหาวิทยาลัยอีแกม ลาซาล ประเทศฝรั่งเศส (ECAM LaSalle, France) ที่เสริมแกร่งเครือข่ายทางการศึกษาที่ครอบคลุมมากที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ให้โอกาสอาจารย์และนักศึกษาในการเข้าร่วมโครงการแลกเปลี่ยนระหว่างมหาวิทยาลัยที่อยู่ในความร่วมมือ พร้อมเปิดตัว Training Center ที่ มธ. ศูนย์พัทยา เพื่อยกระดับให้เป็นศูนย์กลางด้านการพัฒนานวัตกรรมตอบโจทย์ EEC นอกจากนี้ ภายในงาน TSE ได้นำงานวิจัยและนวัตกรรมที่เกี่ยวกับวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ฝีมือของอาจารย์ TSE ผู้เป็น นวัตกรแถวหน้าของไทย มาร่วมจัดแสดงและนำมาสาธิตการใช้งาน โดยมีผู้ที่สนใจเข้าชมจำนวนมาก อาทิ เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนากับภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน โดยรองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ TSE ที่ร่วมพัฒนาโดยแพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง ผลงานของรองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE พร้อมด้วยนักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา , นักศึกษาภาควิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) ทั้งนี้ การเปิดตัว 4 หลักสูตรใหม่ ‘วิศวะฯ นานาชาติเชิงบูรณาการ’ ภายใต้แนวคิด TEP-TEPE : The Next Concept of Engineering Education ปฐมบทใหม่ของการเรียนวิศวกรรมเชิงบูรณาการ ถือเป็นจุดเริ่มต้นยุคใหม่ของการเรียนด้านวิศวกรรม ที่พร้อมเดินหน้าพัฒนาคนรุ่นใหม่ สู่การเป็นโมเดลต้นแบบของการพัฒนาวิศวกรแห่งอนาคต ที่พร้อมเปิดโอกาสให้กับผู้ที่สนใจเรียนต่อด้านวิศวกรรม โดย TSE มุ่งมั่นในการสร้างบุคลากรด้านวิศวกรรมขั้นสูง เพื่อตอบโจทย์การพัฒนาของประเทศ รวมถึงส่งเสริมการต่อยอดสู่การเป็นผู้ประกอบการที่พร้อมด้วยทักษะที่หลากหลาย รองศาสตราจารย์ ดร.ธีร กล่าวเสริม หมายเหตุถึงกองบรรณาธิการ : รายนามผู้พัฒนานวัตกรรมเชิงบูรณาการของ TSE เอไอคัดกรองผู้ป่วยโรคซึมเศร้าและโรคทางจิตเวชด้วยเสียงพูด 1) รองศาสตราจารย์ ดร.จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) 2) อ.พญ.กันต์กมล จัยสิน, พญ.กีรติ พัฒนเสรี, และ พญ.จุฑาวดี หล่อตระกูล แพทย์ประจำภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล 3) ผศ.ดร.จุฑามณี อ่อนสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เทคโนโลยีจำลองโลกเสมือน ช่วยคัดกรองโรคต้อหิน รองศาสตราจารย์ ดร. จาตุรงค์ ตันติบัณฑิต อาจารย์ประจำภาควิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ และหัวหน้าคลัสเตอร์ศูนย์แห่งความเป็นเลิศทางวิชาการด้านสารสนเทศอัจฉริยะ เทคโนโลยีเสียงพูดและภาษา และนวัตกรรมด้านบริการ (CILS) คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต (TSE) รองศาสตราจารย์ นพ.ปริญญ์ โรจนพงศ์พันธุ์ , รองศาสตราจารย์ พญ.วิศนี ตันติเสวี , รองศาสตราจารย์ พญ.อนิตา มนัสสากร , พญ.สุณี จันทร์แสงเพ็ชร์ , นพ.รัฐ อิทธิพานิชพงศ์ และ พญ.กิติยา รัตนวงศ์ไพบูลย์ แพทย์ประจำหน่วยวิจัยต้อหิน ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สกินแคร์ต้านอนุมูลอิสระจากน้ำมันกัญชง โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ภณิดา ซ้ายขวัญ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE การซ่อมแซมคอนกรีตด้วยแบคทีเรีย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนะชัย ทองโฉม อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ TSE นายณัฐพงศ์ ยมสมิต นักศึกษาปริญญาเอก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา TSE นางสาวแทนใจ วงษ์แป้น นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นางสาวเพ็ญชิสา จันทร์วิเศษสิน นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM) นายวิทยา จิตชัยเจริญ นักศึกษาสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและการบริหารการก่อสร้าง (EBM)