ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … นักศึกษา ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
กทม. ร่วมกับมูลนิธิเอเชีย ชูประเด็น “การอ่านในเด็กปฐมวัย” นำ 4 โรงเรียน เสริมทักษะผ่านนิทานและการเล่น EZ WebmasterDecember 23, 2024 นายศานนท์ หวังสร้างบุญ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้มาเป็นประธาน ในพิธีเปิดงานเทศกาลรักการอ่านผ่านนิทานและการเล่น (Let’s Read and Play’s Reading Festival 2024) ตอนเปิดประตูสู่โลกนิทานมหัศจรรย์กับคุณหนูและผองเพื่อนสัตว์น่ารัก ที่ รร.ฤทธิยะวรรณาลัย (ประถมศึกษา) เขตสายไหม ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของโครงการส่งเสริมการอ่านในเด็กปฐมวัยผ่านนิทานและการเล่น จัดขึ้นเป็นปีที่ 2 โดยมูลนิธิเอเชีย… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี EZ WebmasterDecember 23, 2024 โรงเรียนสอนการประกอบอาหาร เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรสุดหรูประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 เพื่อเฉลิมฉลองความสำเร็จของเหล่านักเรียนจำนวน 60 คน ที่มุ่งมั่นสู่การเป็นสุดยอดเชฟ โดยได้รับเกียรติจาก คุณสุชาดา สถาปิตานนท์ (กลาง-ขวา) ผู้บริหาร (ครูใหญ่) และ คุณเจเรมี… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง … กิจกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว EZ WebmasterDecember 23, 2024 ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ในยุคปัจจุบันแม้ว่ายุคเทคโนโลยีจะก้าวหน้ามากเพียงใดแต่อย่าลืมว่า มีหนึ่งทักษะที่จำเป็นที่สุด คือ “ทักษะการสื่อสาร” เพราะมันเป็นเหมือนประตูบานแรกที่ช่วยให้เรารับสารและส่งสารได้ตรงตามที่วัตถุประสงค์ ยิ่งเราฝึกฝนก็จะยิ่งชำนาญในการสื่อสารมากยิ่งขึ้น และยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพตามาที่เราต้องการ และในบทความนี้ได้รวบรวม 25 ข้อทักษะการสื่อสาร ที่ทุกคนควรจะมีติดตัวไว้ ไม่ใช่แค่การพูดเพียงเท่านั้น แต่ยังมีภาษากายอีกด้วยที่เราต้องฝึกควบคู่ไปด้วย Listen Actively – ฝึกเป็นผู้ฟังที่ตั้งใจจริง …
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม EZ Webmaster Related Posts ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN” Post navigation PREVIOUS Previous post: เรียนแพทย์แผนไทย ม.รังสิต นำวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาภูมิปัญญาสู่สากลNEXT Next post: ตอกย้ำสาขาวิชาสุดฮิต ยอดผู้สมัครรอบรับตรง “โลจิสติกส์ สวนสุนันทา” ทะลุ 1,000 คน ยังเปิดรับ DEK 66 ถึง 31 ธ.ค.นี้ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้… Search for: Search
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
คณะศิลปศาสตร์ สจล. ลงนามความร่วมมือ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ยกระดับการเรียนรู้สู่ประสบการณ์จริงในสายงานประชาสัมพันธ์ EZ WebmasterDecember 16, 2024 คณะศิลปศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ลงนามความร่วมมือกับ วิวาลดี้ พับลิค รีเลชั่นส์ ผู้นำด้านการประชาสัมพันธ์และการให้คำปรึกษาด้านการสื่อสารและการตลาด โดยความร่วมมือนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แบบบูรณาการกับการทำงาน และการฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาทักษะและสร้างประสบการณ์จริงในด้านประชาสัมพันธ์และการตลาดแก่นักศึกษา นำโดย ผศ. ดร.เอกรัตน์ สุวรรณกูล (ที่ 2 จากซ้าย) คณบดีคณะศิลปศาสตร์ และ มร.โจเซฟ เฮนรี (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารและผู้ร่วมก่อตั้ง วิวาลดี้…
EZ Webmaster December 15, 2022 EZ Webmaster December 15, 2022 เปิดชีวิตเด็กไอที ม.กรุงเทพ อาชีพอนาคตไกลที่ฮอตสุดในโลกขณะนี้ อาชีพโปรแกรมเมอร์เป็นหนึ่งในอาชีพที่น้องๆ หลายคนให้ความสนใจศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา แต่คนส่วนใหญ่มักจะคิดว่าการเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นเรียนยาก คนที่เรียนได้จะต้องมีทักษะทางคอมพิวเตอร์ขั้นสูง เก่งเรื่องการคำนวณ ต้องใช้คอมพิวเตอร์ราคาแพง ถึงจะเรียนและทำงานในสายนี้ได้แต่วันนี้พี่ๆ จาก สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) และ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ (Data Science and Cybersecurity) คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมาเล่าประสบการณ์ในรั้วมหาวิทยาลัยกรุงเทพ กับการเรียนด้านไอทีให้น้องๆ ฟังว่า เรียนสนุก ไม่ยาก และน่าเรียนขนาดไหน พีรณัฐ อุณหะนันทน์ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ เล่าถึงชีวิตการเรียนในสาขา Cybersecurity ว่า “ผมมีความสนใจในการทำงานด้านโปรแกรมเมอร์ มาตั้งแต่สมัยมัธยม และก็มีโอกาสทำงานด้านโปรแกรมเมอร์มาก่อนเข้าเรียนในมหาวิทยาลัย ตอนแรกผมมีตัวเลือกอยู่ 2 มหาวิทยาลัย จากคำแนะนำของพี่ๆ ในวงการโปรแกรมเมอร์ แนะนำว่าลองมาเรียนที่นี่ดูมี สาขาใหม่ Cybersecurity เป็นสาขาใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลระบบป้องกัน ก็เลยหาข้อมูลดู สุดท้ายตัดสินใจเลือกที่นี่เพราะหลักสูตรการเรียนการสอนเป็นที่ยอมรับในวงการ และมีเวลาที่ผมสามารถทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำ อย่างเช่น ไปร่วมโครงการของ Microsoft และ ไปแข่งขันด้านความปลอดภัยไซเบอร์ Palo Alto Networks Capture The Flag, Capture the Future Competition 2022 ระดับอุดมศึกษาจากทั่วประเทศ และได้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศ 10 ทีมสุดท้าย ซึ่งเป็นกิจกรรมที่จะช่วยทำให้เราพัฒนาตัวเองเป็นโปรแกรมเมอร์ที่มีความสามารถสูงขึ้นอีกด้วย” พอเข้ามาเรียนจริงผมคิดว่าด้วยการออกแบบหลักสูตรต่างๆ นั้นมีหลายอย่างที่ผมคิดว่าดีไม่แพ้มหาวิทยาลัยอื่นเลย อย่างบางวิชาอาจารย์ก็เอาหนังสือเล่มเดียวกันกับมหาวิทยาลัยระดับไอวี่ลีก (Ivy League – มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงมายาวนานในสหรัฐอเมริกา) มาสอน ทำให้ผมรู้สึกว่าคุณภาพวิชาการสอนของเราไม่แพ้มหาวิทยาลัยรัฐ หรือสถาบันการศึกษาอื่นเลย สำหรับน้องๆ ที่จะเข้ามาเรียนต่อที่นี่พี่อยากจะแนะนำว่า สิ่งสำคัญนอกจากการเรียนเขียนโปรแกรม คือการหาสายหรือความถนัดของตัวเองให้พบ บางคนอาจจะมีความถนัดในเรื่องการโปรแกรมระบบ บางคนอาจจะถนัดอยากทำแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน สิ่งเหล่านี้จะค้นพบได้จากการฝึกฝนและการลงแข่งขัน สำคัญที่สุดคืออย่าไปกลัว อย่าไปคิดว่ายากเกินตัวเราทำไม่ได้หรอก คิดแบบนี้ไม่ได้ เราทุกคนสามารถเรียนรู้และค้นหาแนวทางที่ถนัดของตัวเองได้ เพียงแค่มีความกล้าที่จะลอง และเปิดใจเรียนรู้เท่านั้น” ปภัสสิริย์ อภิไพบูลย์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เป็นหนึ่งในคำตอบของคำถามที่ว่าผู้หญิงจะสามารถเรียนโปรแกรมเมอร์หรือทำงานในวงการไอทีได้หรือไม่ ปภัสสิริย์ เล่าถึงที่มาที่ไปของการเข้าเรียนในคณะไอที มหาวิทยาลัยกรุงเทพว่า “สนใจเรียนคณะไอที ม.กรุงเทพ เพราะเห็นข่าวผลงานของรุ่นพี่ที่คว้ารางวัลการแข่งขันหลายอย่าง เลยสนใจที่จะเข้ามาเรียนด้านการออกแบบเกม แต่คิดไปคิดมาดูแล้วตัวเราเองก็ไม่ได้มีความสนใจในเรื่องเกมมากขนาดนั้น แต่เราสนใจเรื่องการเป็น Software Developer หรือ นักพัฒนาซอฟต์แวร์ มากกว่า แรกๆ ก็เครียดเหมือนกันกลัวว่าเราจะเรียนไม่ได้ ต้องไปซื้อคอร์สเรียนเขียนโปรแกรมเพิ่มเติมหรือเปล่า ถึงจะเรียนได้ทันเพื่อน แต่พอเรียนจริงๆ ถือว่าง่ายมาก การเขียนโปรแกรมไม่ได้ยากขนาดนั้น ไม่เคยมีพื้นฐานมาก่อนก็เรียนได้ เพราะทางสาขา Com Science วางหลักสูตรการเรียนตั้งแต่ปูพื้นฐานอย่างละเอียด ตั้งแต่เริ่มต้นจนเขียนโปรแกรมเป็น อีกอย่างพอเข้ามาเรียนได้มาเจอกลุ่มเพื่อนที่มีความชอบแบบเดียวกันก็เลยไปด้วยกันได้ สำหรับน้องๆ ที่สนใจมาเรียนพี่แนะนำว่า ถึงไม่มีพื้นฐานมาก่อนก็เข้ามาเรียนได้แน่นอน เพราะไม่ได้ยากอย่างที่คิด” ฮาริส เกิดภักดี นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ คนส่วนใหญ่อาจจะคิดว่าเด็กม.ปลาย สายศิลป์ ไม่สามารถเรียนต่อด้านโปรแกรมเมอร์ได้ แต่สำหรับฮาริส คนหนึ่งที่เรียนจบม.ปลาย สายศิลป์ และกำลังไปได้ดีกับการเรียน Com Science บอกกับเราว่า “ผมเป็นคนหนึ่งที่เรียนทางด้านสายศิลป์มา ตอนแรกก็เครียดเหมือนกันครับว่าจะเรียนได้ไหม แต่พอเข้ามาเรียนในช่วงปีหนึ่งแล้ว อาจารย์สอนพื้นฐานทุกอย่างจนเขียนโปรแกรมได้ ดังนั้นใครที่เรียนด้านสายศิลป์ ไม่ต้องห่วงว่าเข้าเรียนที่นี่แล้วจะเรียนไม่ไหว ไม่ว่าจะมีประสบการณ์มาก่อนหรือไม่มีมาเลย ทุกคนเริ่มต้นจากการเขียนโค้ด “Hello world” เหมือนกันหมด อีกอย่างผมว่าบรรยากาศการเรียนที่นี่ดีมาก อาจารย์เข้าถึงง่ายและช่วยสอนในจุดที่เรายังไม่เข้าใจ เพื่อนและรุ่นพี่ก็ดี ทุกคนมีความเป็นกันเอง ช่วยเหลือกันเวลาเจอจุดที่ยากก็ช่วยเหลือกัน แต่อย่างไรก็ตามเรื่องการใช้คณิตศาสตร์แคลคูลัส ยังจำเป็นสำหรับการเรียนเขียนโปรแกรม อาจจะไม่ได้ง่ายสำหรับเด็กสายศิลป์อย่างผม แต่ก็ไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะเรียนรู้ครับ” มโนปกรณ์ คูหาเรืองรอง นักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ อีกหนึ่งคนที่สนใจเรียนต่อด้าน Cybersecurity เล่าถึงเหตุผลที่เลือกเรียนคณะไอที กับมหาวิทยาลัยกรุงเทพ แทนมหาวิทยาลัยรัฐบาลว่า “ที่เลือกมหาวิทยาลัยเอกชน เพราะสามารถบริหารจัดการเวลาระหว่างการเรียน และการทำกิจกรรมหรือทำงานได้ดีกว่า อีกเหตุผลก็คือ ผมไม่ชอบการเรียนในห้องอย่างเดียว แต่ผมชอบที่จะฝึกการลงมือปฏิบัติจริงๆ ในขณะที่การเรียนในมหาวิทยาลัยรัฐ จะให้ความรู้สึกที่ต้องไปเรียนวันจันทร์-ศุกร์ และบรรยากาศการเรียนจะค่อนข้างกดดันมากกว่า ในขณะที่การเรียนที่ ม.กรุงเทพ มีปัญหาอะไรก็สามารถยกมือถามหรือเข้าพบสอบถามอาจารย์ได้ทันที ส่วนการเรียนในสาย Cybersecurity ผมมองว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจอีกขั้นของการเรียนเขียนโปรแกรม เพราะในเมื่อเราใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีข้อมูลของเรามากมายอยู่ในนั้น เราก็ควรจะต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยเข้ามาดูแล ทุกวันนี้มีการแฮกข้อมูลเว็บไซต์ เอาข้อมูลส่วนบุคคลออกมา จึงจำเป็นที่ต้องมีคนที่คอยทำหน้าที่ปกป้องข้อมูลตรงนี้ ซึ่งผมก็ได้มีโอกาสเรียนรู้จากอาจารย์และพี่ๆ ที่ทำงานในด้านนี้เข้ามาช่วยสอนด้วยเครื่องมือและประสบการณ์ตรง และก็มีบริษัทติดต่อให้ไปร่วมงานตั้งแต่เรียนปีแรกเลยครับ ผมว่าการเรียนด้านนี้สำคัญคือเราต้องฝึก และหาโอกาสแสดงความสามารถผ่านการแข่งขัน เพื่อเก็บเทคนิคพัฒนาตัวเอง และเพิ่มโอกาสการได้งานของเรามากขึ้น” พลาธิป จันทวงศ์ นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อีกคนหนึ่งที่สนใจด้านการเขียนโปรแกรมเล่าถึงประสบการณ์ในการเรียนที่ Com Science ม.กรุงเทพ ว่า “สาเหตุที่เลือกเรียนต่อที่นี่คือเรื่องของเวลาเป็นหลัก เพราะอยากเรียนแบบมีบริหารจัดการเวลาว่างได้มากขึ้น จะได้มีเวลาไปทำงานหรือทำกิจกรรมอื่นๆ ที่อยากทำสิ่งที่ประทับใจในการเรียนที่นี่คือบรรยากาศสนุก เป็นกันเอง แล้วการเรียนในสายนี้ก็ไม่ได้ยากอย่างที่คิด อนาคตยังไม่แน่ใจว่าจะไปต่อทางสายไหน แต่ตอนนี้สนใจเรื่องโมบาย (การเขียนแอปพลิเคชันในสมาร์ทโฟน) เพราะเป็นเครื่องมือที่ทุกคนใช้งานมากที่สุด” ปิดท้ายกันที่ อิทธิพัทธ์ จิตรดา นักศึกษาชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มุ่งเน้นวิทยาการข้อมูลและความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ นักศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นด้านการทดสอบระบบรักษาความปลอดภัย เผยถึงสิ่งที่ได้จากการเรียนที่ม.กรุงเทพว่า “ก่อนที่จะเข้าเรียนที่ม.กรุงเทพ ผมทำงานเป็นโปรแกรมเมอร์มาก่อนอยู่แล้ว แต่ที่ผมเลือกที่จะเรียนต่อก็เพราะต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมว่ายังมีอะไรที่ผมขาดหายไป แล้วผมก็ไม่รู้สึกผิดหวังเลยที่ได้เข้ามาเรียน เพราะผมพบเทคนิคใหม่ๆ หลายอย่างที่ไม่เคยรู้มาก่อนในห้องเรียน ได้มีโอกาสร่วมกิจกรรมการแข่งขัน และสิ่งที่สำคัญสำหรับการเป็นโปรแกรมเมอร์ที่ดีคือ การมีระบบตรรกะหรือระบบความคิดอย่างมีเหตุผลเป็นขั้นตอน ซึ่งมีส่วนสำคัญในลำดับการใช้คำสั่งในโปรแกรมให้แสดงผลอย่างที่เราต้องการ ก่อนหน้าที่จะเข้ามาเรียน ผมเรียนรู้ที่จะพัฒนาตัวเองด้วยวิธีการแก้ปัญหาไปเรื่อยๆ จนรู้ว่าอะไรที่ทำได้และทำไม่ได้ แต่พอเข้ามาเรียนรู้เรื่องระบบตรรกะการเขียนโปรแกรม ก็ทำให้รู้ว่าจะต้องเขียนโปรแกรมอย่างไรให้ดีขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมได้รับจากการเรียนที่นี่” จากคำบอกเล่าจากพี่ๆ ที่เข้าเรียนใน Com Science และ Cybersecurity มหาวิทยาลัยกรุงเทพ เราจะพบว่าการเรียนต่อด้านไอทีเป็นโปรแกรมเมอร์นั้นไม่ใช่เรื่องยาก ทุกคนสามารถเรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมได้หมด ไม่ว่าเราจะเรียนจบทางด้านสายวิทย์ หรือสายศิลป์ หรือแม้แต่เป็นโปรแกรมเมอร์ ทำงานในบริษัทตั้งแต่เรียนจบม.ปลาย มาแล้วก็ตาม การเรียนต่อในระดับมหาวิทยาลัย จะช่วยเพิ่มความรู้ในการเป็นโปรแกรมเมอร์มืออาชีพ มีใบปริญญาที่ช่วยรับประกันความสามารถการทำงานในวงการไอทีกับบริษัทไอทีทั้งในและต่างประเทศ เพื่อเงินเดือนที่สูงขึ้น โอกาสความก้าวหน้าในอาชีพการงานที่ดีและมั่นคงกว่าเดิม
เลอ กอร์ดอง เบลอ ดุสิต จัดพิธีมอบประกาศนียบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา ประจำภาคเรียนที่ 4 ปีการศึกษา 2567 ณ ห้องนภาลัย แกรนด์บอลลูม โรงแรมดุสิตธานี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน”
ปลดล็อกศักยภาพในสายอาชีพของคุณกับเวิร์กชอป พร้อมพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ: “U SEEK กับ Jobsdb เพื่อนซี้ทุก GEN”