คอร์สเรียนฟรี “วิชาเคมี” กับ 3 มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

1. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

เคมีทั่วไป

 คำอธิบายรายวิชา

อะตอมและโครงสร้างอะตอม ระบบพีริออดิก พันธะเคมี ปฏิกิริยาเคมี แก๊ส ของเหลว ของแข็ง สารละลาย อุณหพลศาสตร์ จลนพลศาสตร์เคมี สมดุลเคมี อิเล็กโทรไลต์และการแตกตัวเป็นไอออน กรดและเบส สมดุลของไอออน เคมีไฟฟ้า

 

จำนวนชั่วโมงการเรียนรู้

45 ชั่วโมง

 

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

LO1 : ผู้เรียนสามารถอธิบายหลักการ ทฤษฎีและความหมายคาในวิชาเคมีทั่วไป
LO2 : ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูล ตัวเลขและสรุปผลเบื้องต้นทางเคมีจากหลักการทางคณิตศาสตร์ และฟิสิกส์
LO3 : ผู้เรียนสามารถใช้ความรู้ หลักการ ทฤษฎีเพื่อมาประยุกต์ แก้ปัญหาและอธิบายได้ตามหลักการทางเคมี
LO4 : ผู้เรียนสามารถแยกประเภทความรู้ และหลักการตามศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง เช่น เคมีวิเคราะห์ เคมีอนินทรีย์ และเคมีเชิงฟิสิกส์
LO5 : ผู้เรียนสามารถเลือกใช้กระบวนการเคมีเพื่อสืบค้นข้อมูล อภิปราย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ สารวจ ตรวจสอบ ทานาย และทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้

 

ความรู้พื้นฐานที่ควรรู้ก่อนเรียน

วิทยาศาสตร์ (เคมี) มัธยมศึกษาตอนปลาย

 

อาจารย์ผู้รับผิดชอบในรายวิชา

1. ดร. รมิดา รัตนาคาม

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
e-mail : fscirdr@ku.ac.th, ramida.r@ku.th

2. ดร.ธารินี สาลีโภชน์

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
e-mail : fscitna@ku.ac.th, tharinee.a@ku.th

3. ดร. สุธาสินี

ภาควิชเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
e-mail : fscistsn@ku.ac.th, sutasinee.k@ku.th

4. ดร.ปณิทัติ หาสิน

ภาควิชเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
e-mail : fscipths@ku.ac.th, panitat.h@ku.th

 

ระดับเนื้อหารายวิชา

ปริญญาตรี / เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตร วิทยาศาสตรบัณฑิต/เคมีทั่วไป รหัสวิชา 01403111

 

ประเภทของการเรียนในรายวิชา

เรียนด้วยตนเอง

 

ระดับความยากของเนื้อหาในรายวิชา

ระดับกลาง

 

กลุ่มเป้าหมาย

1. นักศึกษาปริญญาตรี

2. ประชาชนทั่วไป

 

แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้

1. ตำราและเอกสารหลัก
* ทบวงมหาวิทยาลัย “เคมีเล่ม 1” สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ พิมพ์ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2541
* ทบวงมหาวิทยาลัย “เคมีเล่ม 2” สานักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์ พิมพ์ครั้งที่ 8 พ.ศ. 2541
2. เอกสารและข้อมูลสำคัญ
* หนังสือ: กฤษณา ชุติมา “หลักเคมีทั่วไป” เล่ม 1 โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 17 พ.ศ. 2549
* หนังสือ: กฤษณา ชุติมา “หลักเคมีทั่วไป” เล่ม 2 โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 13 พ.ศ. 2542
* หนังสือ: Brady J.E. “General chemistry, Principles and Structure” 5th ed. John Wiley & Sons. Inc.,1990.
* หนังสือ: Gillespie, R.J., Eaton, D.R., Humphrys, D.A. and Robinson, E.A., “Atoms, Molecules and Reactions, An Introduction to Chemistry”, Prentice-Hall, Inc. ,1994.
* หนังสือ: Kotz , J.C. and Purcell, K.E., “Chemistry & Chemical Reactivity”, 2nd ed., Saunder College Publishing, 1991.
* หนังสือ: Olmsted, J. and Williams, G.M., “Chemistry, the Molecular Science”, Mosky Year Book, Inc.,1994.
3. เอกสารและข้อมูลแนะนำ
* หนังสือ: Porterfield, W.W., Inorganic chemistry ; A Unified approach, 2nd ed., Academic press, 1993.
* หนังสือ: Shriver, D. F., Atkins, P.W. and Langford, C.H., Inorganic Chemistry, 2nd ed., Oxford university Press, 1994.

 

นโยบายการวัดประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน

ผู้เรียนจะได้รับคะแนนตามเงื่อนไขดังนี้

1. ทำข้อตกลงเรียนแต่ละบทเรียน คะแนน 12 % (คลิกตกลง บทเรียนละ 1 ครั้ง จำนวน 12 บทเรียน)
2. ทำแบบทดสอบท้ายบทเรียน คะแนน 30% (จำนวน 10 ครั้ง)
3. แบบฝึกหัดแต่ละบทเรียน คะแนน 24 % (จำนวน 11 ครั้ง)
4. แบบทดสอบหลังเรียนรายวิชา คะแนน 34 % (จำนวน 1 ครั้ง)

โดยผลรวมคะแนนทุกกิจกรรมรวมกัน ไม่น้อยกว่า 50% จึงถือว่าผ่านเกณฑ์

 

2. มหาวิทยาลัยนเรศวร 

ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry

คำอธิบายรายวิชา

การคํานวณมวลอะตอมเฉลี่ย มวลโมเลกุลและมวลโมลาร์ การคำนวณเพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างมวลอะตอม/มวลโมเลกุล จำนวนอนุภาคและจำนวนโมลของสาร การคำนวณเปอร์เซ็นต์องค์ประกอบของธาตุแต่ละชนิดในสูตรโมเลกุลและการหาสูตรอย่างง่ายของโมเลกุล เมื่อทราบปริมาณของธาตุแต่ละชนิดที่เป็นองค์ประกอบ การเขียนสมการเคมีและการดุลสมการเคมี การคำนวณปริมาณสารโดยใช้ความสัมพันธ์จากสมการเคมี การหาชนิดของสารกำหนดปริมาณ การคำนวณปริมาณสารที่มากเกินพอ การคำนวณปริมาณผลผลิตของปฏิกิริยาและร้อยละผลผลิตของปฏิกิริยา

 

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้   

         จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 3 ชั่วโมงการเรียนรู้ใน Thai MOOC (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 2 ชั่วโมง )
และกิจกรรมการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยนเรศวร รวม 5 ชั่วโมงการเรียนรู้

 

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1. สามารถคํานวณมวลอะตอมเฉลี่ย มวลโมเลกุลและมวลโมลาร์ได้2. สามารถคำนวณความสัมพันธ์ระหว่างมวลอะตอม/มวลโมเลกุล จำนวนอนุภาคและจำนวนโมลของสารคำนวณเปอร์เซ็นต์องค์ประกอบของธาตุแต่ละชนิดในสูตรโมเลกุลและหาสูตรอย่างง่ายของโมเลกุลได้

3. สามารถเขียนสมการเคมีและดุลสมการเคมีได้อย่างถูกต้อง

4. สามารถคำนวณปริมาณสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์โดยใช้ความสัมพันธ์จากสมการเคมีได้

5. สามารถคำนวณชนิดของสารกำหนดปริมาณและคำนวณร้อยละผลผลิตของปฏิกิริยาได้

 

คุณสมบัติผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้

 

เกณฑ์การวัดผล

เข้าทำแบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียนผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

 

อาจารย์ผู้รับผิดชอบในรายวิชา

ผศ.ดร.บุษบา ปิ่นชัยพัฒน์

ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

e-Mail:bussabap@nu.ac.th เบอร์ 055-963456, 095-1169763

 

3. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

โครงสร้างอะตอม

เกี่ยวกับรายวิชานี้

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม

 

วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจบทเรียน เรื่องโครงสร้างอะตอม

 

ชั่วโมงในการเรียน

11 ชั่วโมง

 

ระดับความยากของการเรียนในรายวิชา

ระดับพื้นฐาน

 

คุณสมบัติผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจสามารถเรียนได้

 

ขั้นตอนการผ่าน

ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60

 

มีเกียรติบัตรให้

 

อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา

ผศ.ดร.นรารักษ์ หลีสกุล

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

พันธะเคมี

เกี่ยวกับรายวิชานี้

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี เรื่อง พันธะเคมี

 

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงบทเรียน เรื่อง พันธะเคมี

 

ชั่วโมงในการเรียน

8.5 ชั่วโมง

 

ระดับความยากในการเรียน

พื้นฐาน

 

คุณสมบัติของผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจเรียน

 

ขั้นตอนการผ่าน

ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60

 

มีเกียรติบัตรให้

 

ปริมาณสารสัมพันธ์

เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์

 

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงบทเรียน เรื่อง ปริมาณสารสัมพันธ์

 

ชั่วโมงในการเรียน

10.5 ชั่วโมง

 

ระดับความยากในรายวิชา

พื้นฐาน

 

คุณสมบัติของผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจจะเรียน

 

ขั้นตอนการผ่าน

ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60

 

มีเกียรติบัตรให้

 

อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา

ผศ.ดร.อุไรวรรณ ศิริมหาชัย

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

สมดุลเคมี

เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี เรื่อง สมดุลเคมี

 

วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงบทเรียน เรื่อง สมดุลเคมี

 

ชั่วโมงในการเรียน

5 ชั่วโมง

 

ระดับความยากในรายวิชา

พื้นฐาน

 

คุณสมบัติของผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจจะเรียน

 

ขั้นตอนการผ่าน

ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60

 

มีเกียรติบัตรให้

 

อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา

ผศ.ดร.แหลมทอง ชื่นชม

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงบทเรียน เรื่อง อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี

 

ชั่วโมงในการเรียน

5.5 ชั่วโมง

 

ระดับความยากในรายวิชา

พื้นฐาน

 

คุณสมบัติของผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชน ที่สนใจจะเรียน

 

ขั้นตอนการผ่าน

ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60

 

มีเกียรติบัตรให้

 

อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา

ผศ.ดร.แหลมทอง ชื่นชม

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริทร์

 

เคมีอินทรีย์

เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาเคมี เรื่อง เคมีอินทรีย์

 

ชั่วโมงในการเรียน

9 ชั่วโมง

 

ระดับความยากในการเรียน

พื้นฐาน

 

คุณสมบัติของผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจจะเรียน

 

ขั้นตอนการผ่าน

ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 60

 

มีเกียรติบัตรให้

 

อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา

ดร.มรกต แก้วเพชร

คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

สารชีวโมเลกุล

เกี่ยวกับรายวิชา

รายวิชานี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาเคมี เรื่อง สารชีวโมเลกุล

 

วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้

เพื่อให้นักเรียนเข้าใจถึงบทเรียน เรื่อง สารชีวโมเลกุล

 

ชั่วโมงในการเรียน

4 ชั่วโมง

 

ระดับความยากในรายวิชา

พื้นฐาน

 

คุณสมบัติของผู้เรียน

นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ที่สนใจจะเรียน

 

ขั้นตอนการผ่าน

ต้องทำคะแนนรวมทั้งหมดให้ได้ร้อยละ 90

 

มีเกียรติบัตรให้

 

อาจารย์ผู้สอนในรายวิชา

ดร.มรกต แก้วเพชร

คณะวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

 

 

 

 

 

 

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *