มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… มจพ. รับสมัครนักศึกษาโครงการผู้มีความสามารถดีเด่น ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterNovember 12, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) รับสมัครนักเรียนกำลังศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี โครงการรับสมัครนักศึกษาผู้มีความสามารถดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS 68 ได้แก่ ผู้มีความสามารถด้านกีฬา และด้านศิลปวัฒนธรรม เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… นักศึกษา เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… สุดเจ๋งนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย คว้าชัยเวทีระดับประเทศสร้างสรรค์แผนการตลาด EZ WebmasterNovember 12, 2024 บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย จำกัด และบริษัทโตโยต้าลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด จัดโครงการแข่งขัน KINTO Hackathon 2024 ภายใต้แนวคิด “Visionaries Beyond” ก้าวข้ามขีดจำกัด ทลายกรอบความคิดเดิมสู่โลกแห่งความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนคนรุ่นใหม่ในการสร้างโอกาสการเพิ่มยอดขายผ่านกลยุทธ์การตลาดและบริการผลิตภัณฑ์ Car Subscription ของ KINTO โดยการจัดการแข่งขันในรูปแบบ… DAA DPU ปั้นหลักสูตรยกระดับคนการบิน นำร่อง LANEXANG AIRWAYS ลุยเปิดตลาดใน-ต่างประเทศ EZ WebmasterNovember 12, 2024 สถาบันการบิน (DAA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พัฒนาหลักสูตรด้านการบิน ‘ภาษาอังกฤษ–พรีเมียม เซอร์วิส-Human Factor’ and CRM ยกระดับทักษะคนการบิน เจาะลึกวิธีมัดใจลูกค้ากลุ่ม VIP VVIP กำลังซื้อสูง นำร่องยกทีมผู้เชี่ยวชาญ รุกตลาดสายการบินต่างประเทศครั้งแรก LANEXANG AIRWAYS INTERNATIONAL สปป.ลาว เตรียมลุยต่ออุตสาหกรรมค้าปลีก นางสาวสุนันทา พาสุนันท์ ผู้จัดการแผนกลยุทธ์และการตลาด สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU Aviation Academy… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… มจพ. รับสมัครนักศึกษาโครงการผู้มีความสามารถดีเด่น ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterNovember 12, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) รับสมัครนักเรียนกำลังศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี โครงการรับสมัครนักศึกษาผู้มีความสามารถดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS 68 ได้แก่ ผู้มีความสามารถด้านกีฬา และด้านศิลปวัฒนธรรม เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… นักศึกษา เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… สุดเจ๋งนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย คว้าชัยเวทีระดับประเทศสร้างสรรค์แผนการตลาด EZ WebmasterNovember 12, 2024 บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย จำกัด และบริษัทโตโยต้าลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด จัดโครงการแข่งขัน KINTO Hackathon 2024 ภายใต้แนวคิด “Visionaries Beyond” ก้าวข้ามขีดจำกัด ทลายกรอบความคิดเดิมสู่โลกแห่งความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนคนรุ่นใหม่ในการสร้างโอกาสการเพิ่มยอดขายผ่านกลยุทธ์การตลาดและบริการผลิตภัณฑ์ Car Subscription ของ KINTO โดยการจัดการแข่งขันในรูปแบบ… DAA DPU ปั้นหลักสูตรยกระดับคนการบิน นำร่อง LANEXANG AIRWAYS ลุยเปิดตลาดใน-ต่างประเทศ EZ WebmasterNovember 12, 2024 สถาบันการบิน (DAA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พัฒนาหลักสูตรด้านการบิน ‘ภาษาอังกฤษ–พรีเมียม เซอร์วิส-Human Factor’ and CRM ยกระดับทักษะคนการบิน เจาะลึกวิธีมัดใจลูกค้ากลุ่ม VIP VVIP กำลังซื้อสูง นำร่องยกทีมผู้เชี่ยวชาญ รุกตลาดสายการบินต่างประเทศครั้งแรก LANEXANG AIRWAYS INTERNATIONAL สปป.ลาว เตรียมลุยต่ออุตสาหกรรมค้าปลีก นางสาวสุนันทา พาสุนันท์ ผู้จัดการแผนกลยุทธ์และการตลาด สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU Aviation Academy… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มจพ. รับสมัครนักศึกษาโครงการผู้มีความสามารถดีเด่น ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterNovember 12, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) รับสมัครนักเรียนกำลังศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรี โครงการรับสมัครนักศึกษาผู้มีความสามารถดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS 68 ได้แก่ ผู้มีความสามารถด้านกีฬา และด้านศิลปวัฒนธรรม เปิดรับสมัครตั้งแต่บัดนี้… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ…
การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ…
เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… สุดเจ๋งนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย คว้าชัยเวทีระดับประเทศสร้างสรรค์แผนการตลาด EZ WebmasterNovember 12, 2024 บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย จำกัด และบริษัทโตโยต้าลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด จัดโครงการแข่งขัน KINTO Hackathon 2024 ภายใต้แนวคิด “Visionaries Beyond” ก้าวข้ามขีดจำกัด ทลายกรอบความคิดเดิมสู่โลกแห่งความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนคนรุ่นใหม่ในการสร้างโอกาสการเพิ่มยอดขายผ่านกลยุทธ์การตลาดและบริการผลิตภัณฑ์ Car Subscription ของ KINTO โดยการจัดการแข่งขันในรูปแบบ… DAA DPU ปั้นหลักสูตรยกระดับคนการบิน นำร่อง LANEXANG AIRWAYS ลุยเปิดตลาดใน-ต่างประเทศ EZ WebmasterNovember 12, 2024 สถาบันการบิน (DAA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พัฒนาหลักสูตรด้านการบิน ‘ภาษาอังกฤษ–พรีเมียม เซอร์วิส-Human Factor’ and CRM ยกระดับทักษะคนการบิน เจาะลึกวิธีมัดใจลูกค้ากลุ่ม VIP VVIP กำลังซื้อสูง นำร่องยกทีมผู้เชี่ยวชาญ รุกตลาดสายการบินต่างประเทศครั้งแรก LANEXANG AIRWAYS INTERNATIONAL สปป.ลาว เตรียมลุยต่ออุตสาหกรรมค้าปลีก นางสาวสุนันทา พาสุนันท์ ผู้จัดการแผนกลยุทธ์และการตลาด สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU Aviation Academy… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… สุดเจ๋งนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย คว้าชัยเวทีระดับประเทศสร้างสรรค์แผนการตลาด EZ WebmasterNovember 12, 2024 บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย จำกัด และบริษัทโตโยต้าลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด จัดโครงการแข่งขัน KINTO Hackathon 2024 ภายใต้แนวคิด “Visionaries Beyond” ก้าวข้ามขีดจำกัด ทลายกรอบความคิดเดิมสู่โลกแห่งความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนคนรุ่นใหม่ในการสร้างโอกาสการเพิ่มยอดขายผ่านกลยุทธ์การตลาดและบริการผลิตภัณฑ์ Car Subscription ของ KINTO โดยการจัดการแข่งขันในรูปแบบ… DAA DPU ปั้นหลักสูตรยกระดับคนการบิน นำร่อง LANEXANG AIRWAYS ลุยเปิดตลาดใน-ต่างประเทศ EZ WebmasterNovember 12, 2024 สถาบันการบิน (DAA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พัฒนาหลักสูตรด้านการบิน ‘ภาษาอังกฤษ–พรีเมียม เซอร์วิส-Human Factor’ and CRM ยกระดับทักษะคนการบิน เจาะลึกวิธีมัดใจลูกค้ากลุ่ม VIP VVIP กำลังซื้อสูง นำร่องยกทีมผู้เชี่ยวชาญ รุกตลาดสายการบินต่างประเทศครั้งแรก LANEXANG AIRWAYS INTERNATIONAL สปป.ลาว เตรียมลุยต่ออุตสาหกรรมค้าปลีก นางสาวสุนันทา พาสุนันท์ ผู้จัดการแผนกลยุทธ์และการตลาด สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU Aviation Academy… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สุดเจ๋งนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทย คว้าชัยเวทีระดับประเทศสร้างสรรค์แผนการตลาด EZ WebmasterNovember 12, 2024 บริษัทโตโยต้า มอเตอร์ประเทศไทย จำกัด และบริษัทโตโยต้าลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จำกัด จัดโครงการแข่งขัน KINTO Hackathon 2024 ภายใต้แนวคิด “Visionaries Beyond” ก้าวข้ามขีดจำกัด ทลายกรอบความคิดเดิมสู่โลกแห่งความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมครั้งนี้วัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนคนรุ่นใหม่ในการสร้างโอกาสการเพิ่มยอดขายผ่านกลยุทธ์การตลาดและบริการผลิตภัณฑ์ Car Subscription ของ KINTO โดยการจัดการแข่งขันในรูปแบบ… DAA DPU ปั้นหลักสูตรยกระดับคนการบิน นำร่อง LANEXANG AIRWAYS ลุยเปิดตลาดใน-ต่างประเทศ EZ WebmasterNovember 12, 2024 สถาบันการบิน (DAA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พัฒนาหลักสูตรด้านการบิน ‘ภาษาอังกฤษ–พรีเมียม เซอร์วิส-Human Factor’ and CRM ยกระดับทักษะคนการบิน เจาะลึกวิธีมัดใจลูกค้ากลุ่ม VIP VVIP กำลังซื้อสูง นำร่องยกทีมผู้เชี่ยวชาญ รุกตลาดสายการบินต่างประเทศครั้งแรก LANEXANG AIRWAYS INTERNATIONAL สปป.ลาว เตรียมลุยต่ออุตสาหกรรมค้าปลีก นางสาวสุนันทา พาสุนันท์ ผู้จัดการแผนกลยุทธ์และการตลาด สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU Aviation Academy…
DAA DPU ปั้นหลักสูตรยกระดับคนการบิน นำร่อง LANEXANG AIRWAYS ลุยเปิดตลาดใน-ต่างประเทศ EZ WebmasterNovember 12, 2024 สถาบันการบิน (DAA) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ พัฒนาหลักสูตรด้านการบิน ‘ภาษาอังกฤษ–พรีเมียม เซอร์วิส-Human Factor’ and CRM ยกระดับทักษะคนการบิน เจาะลึกวิธีมัดใจลูกค้ากลุ่ม VIP VVIP กำลังซื้อสูง นำร่องยกทีมผู้เชี่ยวชาญ รุกตลาดสายการบินต่างประเทศครั้งแรก LANEXANG AIRWAYS INTERNATIONAL สปป.ลาว เตรียมลุยต่ออุตสาหกรรมค้าปลีก นางสาวสุนันทา พาสุนันท์ ผู้จัดการแผนกลยุทธ์และการตลาด สถาบันการบิน มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU Aviation Academy…
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ EZ WebmasterNovember 12, 2024 การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในยุคใหม่ ควรเน้นให้ผู้เรียนฝึกคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง แต่การที่จะไปถึงจุดนั้นได้ จำเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนอย่างเป็นระบบ ซึ่งทำได้ด้วยวิธีที่ไม่จำเป็นต้องใช้ทรัพยากรมากมาย เพียงแค่ปรับรูปแบบให้เหมาะสม และได้รับความร่วมมืออย่างจริงจังจากบุคคลากรในโรงเรียนเท่านั้น วิธีการเรียนรู้มากมายที่ได้ถูกพิสูจน์เชิงประจักษ์แล้วว่า มีประสิทธิภาพสูงและไม่มีประสิทธิภาพ คือ 1)ใช้การฝึกนึกความรู้เดิมและหลีกเลี่ยงการอ่านซ้ำ 2)ใช้การเรียนรู้แบบเว้นช่วงและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบอัด และ 3)ใช้การเรียนรู้แบบสลับและหลีกเลี่ยงการเรียนแบบเป็นก้อน ซึ่งประเด็นดังกล่าวเป็นสิ่งที่ทางรายการ 1 ในพระราชดำริ สถานีโทรทัศน์ช่อง 9 Mcot HD และมูลนิธิอานันทมหิดล เห็นว่ามีความน่าสนใจ… สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย…
สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) tui sakrapeeNovember 8, 2024 วันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดประชุมมอบนโยบายการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) เพื่อรองรับการตรวจประกันคุณภาพตามเกณฑ์คุณภาพ AUN-QA Version 4.0 พร้อมกันทุกหลักสูตร ให้เป็นไปในทิศทางและมาตรฐานเดียวกันทั้งมหาวิทยาลัย และหลักสูตรระดับปริญญาตรีต้องเป็นหลักสูตรปริญญาตรีทางวิชาชีพหรือปฏิบัติการ นำโดย…
ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย” EZ Webmaster Related Posts จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ การเรียนรู้เชิงประจักษ์ กับวิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาคุณภาพการศึกษายุคใหม่ สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024 Post navigation PREVIOUS Previous post: 10อันดับ มหาวิทยาลัยเอกชน ยอดนิยม จากการสำรวจของ EDUZONESNEXT Next post: 10 อันดับเรื่องเล่าผี ในมหาวิทยาลัยชื่อดัง Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search
ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
EZ Webmaster January 5, 2024 EZ Webmaster January 5, 2024 JGSEE สร้างบัญชีฐานข้อมูลแหล่งกำเนิดฝุ่น PM2.5 ของประเทศ ระบุ มาตรการปรับมาตรฐานน้ำมันเชื้อเพลิง และหนุนการใช้รถ EV จะลดฝุ่นได้ 10% ปัญหาสิ่งแวดล้อมสำคัญที่ทำให้คนทั่วโลกกลับมาให้ความสนใจในช่วงหลายปีหลัง คือ เรื่องมลภาวะทางอากาศ โดยเฉพาะมลภาวะจากฝุ่น PM2.5 ที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทั่วโลกรวมถึงประเทศไทย โดยเฉพาะในพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพฯ และปริมณฑล ที่ในปี 2566 มีปัญหาความเข้มข้นของฝุ่นละอองขนาดเล็กสูงเป็นอันดับต้น ๆ ของโลก ดังนั้นเพื่อบรรเทาปัญหาฝุ่น PM2.5 ให้ลดลง การมีฐานข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ เพื่อค้นหาต้นกำเนิดที่แท้จริงของฝุ่นละอองขนาดเล็กหรือ PM2.5 จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนนโยบายเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขหรือบรรเทาปัญหามลภาวะทางอากาศของประเทศไทย เพื่อให้ประเทศไทยมีข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศที่ถูกต้อง แม่นยำ รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี การีเวทย์ และคณะ จากบัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (JGSEE) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) จึงได้ดำเนินโครงการ “การจัดทำแนวทางการจัดการฝุ่น PM2.5 โดยการวิจัยการเกิดอนุภาคทุติยภูมิ จากการใช้ระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและภาคกลาง” ขึ้น เพื่อศึกษาแหล่งกำเนิดและกลไกของการเกิด PM2.5 ทุติยภูมิ (Secondary Aerosol Precursors) รวมถึงจัดทำแนวทางและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการจัดการคุณภาพอากาศที่สามารถแก้ไขปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ให้ลดลงได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวว่า ในช่วง 4-5 ปีที่ผ่านมาประเทศไทยโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ กรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 สูงเกินค่ามาตรฐานมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อสุขภาพของคนในพื้นที่ เป็นสาเหตุให้มีผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจ โรคมะเร็งปอด และโรคปอดเฉียบพลันในเด็กเล็กเพิ่มสูงขึ้น การใช้ “ข้อมูลบัญชีการระบายมลพิษ” จึงเป็นเครื่องมือสำคัญในการแก้ไขปัญหานี้ “แต่เนื่องจากฝุ่น PM 2.5 มีทั้งที่เกิดจากการปล่อยโดยตรงจากแหล่งกำเนิด เช่น การเผาในที่โล่ง ฝุ่นละอองจากรถยนต์ ที่เป็น “ฝุ่นแบบปฐมภูมิ” ยังมี PM 2.5 “แบบทุติยภูมิ” ที่เป็นการรวมตัวกันของสารตั้งต้น (Precursors) เช่น ไนโตรเจนออกไซด์ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แอมโมเนีย และ NMVOC กับสารอื่นๆ ผ่านปฏิกิริยาเคมีในอากาศอีกด้วย ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องมีทั้งบัญชีการระบายทั้งของฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิและของสารตั้งต้นที่ก่อให้เกิด PM2.5 ทุติยภูมิ เพื่อนำเข้าระบบแบบจำลองการจัดการคุณภาพอากาศในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก่อนใช้ประกอบการตัดสินใจในการแก้ปัญหามลภาวะทางอากาศจาก PM2.5 ของประเทศ ทั้งในระยะกลางและระยะยาวต่อไป” แม้การทำโครงการวิจัยจะจำกัดอยู่ในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แต่การทำงานจริงจำเป็นต้องเก็บข้อมูลจากพื้นที่อื่นทั่วประเทศ เพราะอากาศไม่มีอาณาเขต การเกิดมลภาวะทางอากาศของพื้นที่อื่นๆ ส่งผลต่อมลภาวะทางอากาศของภาคกลางกรุงเทพมหานครและปริมณฑลด้วย ซึ่งจากการวิจัยพบว่า สัดส่วนระหว่าง PM2.5 ปฐมภูมิ และ PM2.5 ทุติยภูมิอยู่ที่ 70:30 โดยในประเทศไทยแหล่งกำเนิด PM2.5 มาจากการเผาชีวมวลในที่โล่งในพื้นที่การเกษตรเป็นอันดับ 1 รองลงมาเป็นการเผาฟืน/ถ่านไม้เพื่อหุงต้มในภาคครัวเรือน โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนขนาดเล็ก การผลิตซีเมนต์ และการจราจร ตามลำดับ “ในส่วนของพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล แหล่งกำเนิด PM2.5 ปฐมภูมิมาจากการจราจรเป็นส่วนใหญ่ ทั้งจากรถบรรทุกขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ รถเมล์ รถยนต์ส่วนบุคคล การเผาไหม้ในอุตสาหกรรมจากจังหวัดโดยรอบ เช่น จังหวัดนครปฐม และสมุทรสาคร ขณะที่ฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิที่เกิดจากพื้นที่ภาคกลางจะมีต้นกำเนิดจากการเผาในที่โล่งในพื้นที่การเกษตร และการผลิตซีเมนต์ แต่จะสังเกตได้ว่าในช่วงที่กรุงเทพฯ ปริมณฑลและภาคกลางได้รับผลกระทบจากมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในรอบปี จะเป็นช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคมของทุกปี เป็นผลมาจากทั้งการเข้าสู่ช่วงฤดูหนาวที่มวลอากาศมีการเคลื่อนตัวโดยความเร็วต่ำ รวมถึงเป็นช่วงที่ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง เข้าสู่ช่วงเตรียมพื้นที่เพื่อการทำเกษตรรอบใหม่ จึงมีการเผาในที่โล่งในจำนวนมากขึ้น รวมถึงการเกิดไฟป่าในหลายพื้นที่ ส่งผลให้ปริมาณมลพิษในอากาศสูงขึ้นอย่างมากและส่งผลกระทบต่อพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล” รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี เพิ่มเติมอีกว่า “หากมองเฉพาะกรุงเทพมหานครและพื้นที่ปริมณฑลจะเห็นว่าสาเหตุหลักของ PM2.5 ปฐมภูมิจะมาจากภาคการจราจรและภาคการขนส่ง ซึ่งโดยส่วนใหญ่รถมีอายุการใช้งานนาน ส่งผลต่อการปล่อยไอเสียในปริมาณมาก หากประเทศไทยสามารถดำเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลตั้งไว้ คือการใช้น้ำมันมาตรฐานยูโร 5 ที่จะเริ่มต้นในวันที่ 1 มกราคม 2567 จะสามารถช่วยลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ปฐมภูมิได้กว่า 10% ภายในปี 2573 และเมื่อรวมปัจจัยของการใช้รถ EV ที่มีปริมาณมากขึ้นทุกปี ก็จะช่วยลดปริมาณมลพิษทางอากาศได้เพิ่มขึ้นในอนาคต ในส่วนของการเผาในที่โล่งพบว่า พื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑลได้รับผลกระทบจากพื้นที่ใกล้เคียง จึงต้องมีมาตรการควบคุมการเผาเศษวัสดุชีวมวล โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี ลพบุรี ราชบุรี และสุพรรณบุรี ซึ่งมีอัตราการเผาในที่โล่งในพื้นที่นาข้าวและไร่อ้อยในปริมาณสูง” โดยข้อมูลจากงานวิจัยได้ส่งต่อให้กับกรมควบคุมมลพิษและจังหวัดกรุงเทพมหานคร เพื่อนำไปใช้ในการออกแบบนโยบาย และมาตรการในการแก้ไขปัญหามลพิษ PM2.5 ในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องและแม่นยำ สามารถแก้ไขปัญหาได้ถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 รองศาสตราจารย์ ดร.สาวิตรี กล่าวเสริมอีกว่า “จากงานวิจัยจะเห็นได้ว่าต้นกำเนิดฝุ่นอยู่ในหลายพื้นที่ของประเทศ ข้อมูลของงานวิจัยนี้จะช่วยพัฒนาบุคลากรจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องของแต่ละพื้นที่ให้สามารถนำข้อมูลไปออกแบบหาวิธีการแก้ปัญหาถึงจุดกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้โดยตรง โดยไม่ต้องรอคำสั่งจากกรมควบคุมมลพิษเหมือนอย่างที่เคยเป็นมา เพราะจากงานวิจัยทำให้รู้ถึงแหล่งกำเนิดของฝุ่น PM2.5 ได้อย่างชัดเจน ซึ่งทุกภาคส่วนมีส่วนในการสร้าง PM2.5 ขึ้น ตั้งแต่ภาคประชาชนจนถึงภาคอุตสาหกรรมเพราะฉะนั้นปัญหาฝุ่นจึงไม่ใช่ปัญหาของใครคนใดคนหนึ่งแต่เป็นปัญหาที่ทุกคนต้องร่วมมือกัน เพื่อลดปริมาณฝุ่น PM2.5 ในพื้นที่ให้ลดลง เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการแก้ปัญหาในอนาคต เพราะทุกคนมิได้มีแต่สิทธิในการสูดอากาศสะอาด แต่มีหน้าที่ทำให้อากาศมีคุณภาพที่ดีปลอดภัยต่อทุกคนอีกด้วย”
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability
สวนสุนันทา เดินหน้าพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรตามแนวทางการศึกษาที่มุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE)
ม.อ. ร่วมกับ สถาบันการแพทย์แห่งมาเลเซีย พัฒนาศักยภาพและความร่วมมือทางการแพทย์ระดับนานาชาติ ผ่านกิจกรรม CORLAMM PSU ORL Cadaveric Dissection Workshop 2024