360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ tui sakrapeeNovember 1, 2024 ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับต่อ..ไม่รอแล้วนะ.. #เด็ก68 #portfolio รอบ portfolio รอบสุดท้ายของปีนี้ ห้ามพลาด คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ระดับปริญญาตรี (ภาคปกติ) ปีการศึกษา 2568 《 รอบ… สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง EZ WebmasterNovember 1, 2024 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ภาค 2 ปีการศึกษา 2567 เฉพาะส่วนกลาง สมัครระบบออนไลน์ วันนี้ – 17 พฤศจิกายน 2567 สมัครทางไปรษณีย์ วันนี้ – 8 พฤศจิกายน… เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย EZ WebmasterOctober 31, 2024 หลังจบกิจกรรมติวระดับภูมิภาคและติวสด 6 วันติดไปเรียบร้อยแล้ว “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” ครั้งที่ 27 เดินหน้าพา DEK68 ทั่วประเทศที่อยากเรียนหมอ กับ “Exclusive Clip” คลิปติวสุดเข้ม เสริมวิชาสำคัญ เพื่อเตรียมสอบ ชีววิทยาและความถนัดแพทย์ เต็มอิ่มกับตะลุยโจทย์ชีววิทยา และ TPAT1 ความถนัดแพทย์ ด้วยเนื้อหาที่อัดแน่น 4 ชั่วโมงเต็ม โดยติวเตอร์ชีววิทยา ระดับประเทศ พี่วิเวียน OnDemand (อ.นพ.วีรวัช เอนกจำนงค์พร) พี่แท็ป ALevel by OnDemand (อ.ภาคภูมิ อร่ามอารีกุล) และพี่แมน OnDemand (อ.ชัยรัตน์… มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 EZ WebmasterOctober 30, 2024 มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย นำโดย นายเทสึยะ ชิโนะฮารา รองประธานกรรมการ พร้อมด้วยผู้แทนจากกลุ่มบริษัท Mitsubishi Electric ในประเทศไทย ร่วมนำถวายเงินสนับสนุนเป็นจำนวน 290,000 บาท แด่ พระวชิรวรคุณ (เสริมพร ธมฺมวโร) ประธานกรรมการมูลนิธิประทีปเด็กไทย… นักศึกษา เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง EZ WebmasterNovember 1, 2024 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ภาค 2 ปีการศึกษา 2567 เฉพาะส่วนกลาง สมัครระบบออนไลน์ วันนี้ – 17 พฤศจิกายน 2567 สมัครทางไปรษณีย์ วันนี้ – 8 พฤศจิกายน… “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย tui sakrapeeOctober 31, 2024 ประเทศเวียดนาม เป็นหนึ่งในประเทศที่มีจุดแข็งด้านการท่องเที่ยวติดอันดับโลก โดยการท่องเที่ยวของเวียดนามเคยติดอันดับ 6 ใน 10 อันดับของจุดหมายปลายทางที่มีการเติบโตของการท่องเที่ยวสูงที่สุดในโลกมาแล้ว สำนักข่าว VIETNAM PICTORIAL รายงานว่าในปี 2566 จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั้งหมดอยู่ที่ 12.6 ล้านคน เกินเป้าหมายเริ่มต้น 57% ขณะที่จำนวนนักเดินทางในประเทศอยู่ที่… สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ tui sakrapeeOctober 30, 2024 วันที่ 30 ตุลาคม 2567 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัยฯ มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งกล่าวแสดงความชื่นชม ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 5 อาคาร 31… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี tui sakrapeeOctober 31, 2024 มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จในการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ International Trade Fair – Ideas, Inventions and New Products : iENA 2024 ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี โดยมีผลงานเข้าร่วมทั้งหมด 3… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง EZ WebmasterNovember 1, 2024 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ภาค 2 ปีการศึกษา 2567 เฉพาะส่วนกลาง สมัครระบบออนไลน์ วันนี้ – 17 พฤศจิกายน 2567 สมัครทางไปรษณีย์ วันนี้ – 8 พฤศจิกายน… เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย EZ WebmasterOctober 31, 2024 หลังจบกิจกรรมติวระดับภูมิภาคและติวสด 6 วันติดไปเรียบร้อยแล้ว “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” ครั้งที่ 27 เดินหน้าพา DEK68 ทั่วประเทศที่อยากเรียนหมอ กับ “Exclusive Clip” คลิปติวสุดเข้ม เสริมวิชาสำคัญ เพื่อเตรียมสอบ ชีววิทยาและความถนัดแพทย์ เต็มอิ่มกับตะลุยโจทย์ชีววิทยา และ TPAT1 ความถนัดแพทย์ ด้วยเนื้อหาที่อัดแน่น 4 ชั่วโมงเต็ม โดยติวเตอร์ชีววิทยา ระดับประเทศ พี่วิเวียน OnDemand (อ.นพ.วีรวัช เอนกจำนงค์พร) พี่แท็ป ALevel by OnDemand (อ.ภาคภูมิ อร่ามอารีกุล) และพี่แมน OnDemand (อ.ชัยรัตน์… มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 EZ WebmasterOctober 30, 2024 มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย นำโดย นายเทสึยะ ชิโนะฮารา รองประธานกรรมการ พร้อมด้วยผู้แทนจากกลุ่มบริษัท Mitsubishi Electric ในประเทศไทย ร่วมนำถวายเงินสนับสนุนเป็นจำนวน 290,000 บาท แด่ พระวชิรวรคุณ (เสริมพร ธมฺมวโร) ประธานกรรมการมูลนิธิประทีปเด็กไทย… นักศึกษา เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง EZ WebmasterNovember 1, 2024 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ภาค 2 ปีการศึกษา 2567 เฉพาะส่วนกลาง สมัครระบบออนไลน์ วันนี้ – 17 พฤศจิกายน 2567 สมัครทางไปรษณีย์ วันนี้ – 8 พฤศจิกายน… “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย tui sakrapeeOctober 31, 2024 ประเทศเวียดนาม เป็นหนึ่งในประเทศที่มีจุดแข็งด้านการท่องเที่ยวติดอันดับโลก โดยการท่องเที่ยวของเวียดนามเคยติดอันดับ 6 ใน 10 อันดับของจุดหมายปลายทางที่มีการเติบโตของการท่องเที่ยวสูงที่สุดในโลกมาแล้ว สำนักข่าว VIETNAM PICTORIAL รายงานว่าในปี 2566 จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั้งหมดอยู่ที่ 12.6 ล้านคน เกินเป้าหมายเริ่มต้น 57% ขณะที่จำนวนนักเดินทางในประเทศอยู่ที่… สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ tui sakrapeeOctober 30, 2024 วันที่ 30 ตุลาคม 2567 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัยฯ มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งกล่าวแสดงความชื่นชม ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 5 อาคาร 31… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี tui sakrapeeOctober 31, 2024 มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จในการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ International Trade Fair – Ideas, Inventions and New Products : iENA 2024 ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี โดยมีผลงานเข้าร่วมทั้งหมด 3… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย EZ WebmasterOctober 31, 2024 หลังจบกิจกรรมติวระดับภูมิภาคและติวสด 6 วันติดไปเรียบร้อยแล้ว “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” ครั้งที่ 27 เดินหน้าพา DEK68 ทั่วประเทศที่อยากเรียนหมอ กับ “Exclusive Clip” คลิปติวสุดเข้ม เสริมวิชาสำคัญ เพื่อเตรียมสอบ ชีววิทยาและความถนัดแพทย์ เต็มอิ่มกับตะลุยโจทย์ชีววิทยา และ TPAT1 ความถนัดแพทย์ ด้วยเนื้อหาที่อัดแน่น 4 ชั่วโมงเต็ม โดยติวเตอร์ชีววิทยา ระดับประเทศ พี่วิเวียน OnDemand (อ.นพ.วีรวัช เอนกจำนงค์พร) พี่แท็ป ALevel by OnDemand (อ.ภาคภูมิ อร่ามอารีกุล) และพี่แมน OnDemand (อ.ชัยรัตน์… มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 EZ WebmasterOctober 30, 2024 มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย นำโดย นายเทสึยะ ชิโนะฮารา รองประธานกรรมการ พร้อมด้วยผู้แทนจากกลุ่มบริษัท Mitsubishi Electric ในประเทศไทย ร่วมนำถวายเงินสนับสนุนเป็นจำนวน 290,000 บาท แด่ พระวชิรวรคุณ (เสริมพร ธมฺมวโร) ประธานกรรมการมูลนิธิประทีปเด็กไทย…
มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 EZ WebmasterOctober 30, 2024 มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย นำโดย นายเทสึยะ ชิโนะฮารา รองประธานกรรมการ พร้อมด้วยผู้แทนจากกลุ่มบริษัท Mitsubishi Electric ในประเทศไทย ร่วมนำถวายเงินสนับสนุนเป็นจำนวน 290,000 บาท แด่ พระวชิรวรคุณ (เสริมพร ธมฺมวโร) ประธานกรรมการมูลนิธิประทีปเด็กไทย…
เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง EZ WebmasterNovember 1, 2024 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ภาค 2 ปีการศึกษา 2567 เฉพาะส่วนกลาง สมัครระบบออนไลน์ วันนี้ – 17 พฤศจิกายน 2567 สมัครทางไปรษณีย์ วันนี้ – 8 พฤศจิกายน… “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย tui sakrapeeOctober 31, 2024 ประเทศเวียดนาม เป็นหนึ่งในประเทศที่มีจุดแข็งด้านการท่องเที่ยวติดอันดับโลก โดยการท่องเที่ยวของเวียดนามเคยติดอันดับ 6 ใน 10 อันดับของจุดหมายปลายทางที่มีการเติบโตของการท่องเที่ยวสูงที่สุดในโลกมาแล้ว สำนักข่าว VIETNAM PICTORIAL รายงานว่าในปี 2566 จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั้งหมดอยู่ที่ 12.6 ล้านคน เกินเป้าหมายเริ่มต้น 57% ขณะที่จำนวนนักเดินทางในประเทศอยู่ที่… สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ tui sakrapeeOctober 30, 2024 วันที่ 30 ตุลาคม 2567 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัยฯ มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งกล่าวแสดงความชื่นชม ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 5 อาคาร 31… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี tui sakrapeeOctober 31, 2024 มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จในการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ International Trade Fair – Ideas, Inventions and New Products : iENA 2024 ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี โดยมีผลงานเข้าร่วมทั้งหมด 3… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง EZ WebmasterNovember 1, 2024 มหาวิทยาลัยรามคำแหง รับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ภาค 2 ปีการศึกษา 2567 เฉพาะส่วนกลาง สมัครระบบออนไลน์ วันนี้ – 17 พฤศจิกายน 2567 สมัครทางไปรษณีย์ วันนี้ – 8 พฤศจิกายน… “ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย tui sakrapeeOctober 31, 2024 ประเทศเวียดนาม เป็นหนึ่งในประเทศที่มีจุดแข็งด้านการท่องเที่ยวติดอันดับโลก โดยการท่องเที่ยวของเวียดนามเคยติดอันดับ 6 ใน 10 อันดับของจุดหมายปลายทางที่มีการเติบโตของการท่องเที่ยวสูงที่สุดในโลกมาแล้ว สำนักข่าว VIETNAM PICTORIAL รายงานว่าในปี 2566 จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั้งหมดอยู่ที่ 12.6 ล้านคน เกินเป้าหมายเริ่มต้น 57% ขณะที่จำนวนนักเดินทางในประเทศอยู่ที่… สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ tui sakrapeeOctober 30, 2024 วันที่ 30 ตุลาคม 2567 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัยฯ มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งกล่าวแสดงความชื่นชม ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 5 อาคาร 31… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี tui sakrapeeOctober 31, 2024 มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จในการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ International Trade Fair – Ideas, Inventions and New Products : iENA 2024 ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี โดยมีผลงานเข้าร่วมทั้งหมด 3… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“ยุทธ”หนุ่มเวียดนามศิษย์เก่าราชภัฏ สานฝันสู่ “ไกด์” ขวัญใจนักท่องเที่ยวไทย tui sakrapeeOctober 31, 2024 ประเทศเวียดนาม เป็นหนึ่งในประเทศที่มีจุดแข็งด้านการท่องเที่ยวติดอันดับโลก โดยการท่องเที่ยวของเวียดนามเคยติดอันดับ 6 ใน 10 อันดับของจุดหมายปลายทางที่มีการเติบโตของการท่องเที่ยวสูงที่สุดในโลกมาแล้ว สำนักข่าว VIETNAM PICTORIAL รายงานว่าในปี 2566 จำนวนนักท่องเที่ยวระหว่างประเทศทั้งหมดอยู่ที่ 12.6 ล้านคน เกินเป้าหมายเริ่มต้น 57% ขณะที่จำนวนนักเดินทางในประเทศอยู่ที่… สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ tui sakrapeeOctober 30, 2024 วันที่ 30 ตุลาคม 2567 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัยฯ มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งกล่าวแสดงความชื่นชม ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 5 อาคาร 31…
สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ tui sakrapeeOctober 30, 2024 วันที่ 30 ตุลาคม 2567 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ฤๅเดช เกิดวิชัย นายกสภามหาวิทยาลัยฯ มอบเกียรติบัตรแก่นักศึกษาที่สร้างชื่อเสียงให้มหาวิทยาลัยทั้งระดับชาติและนานาชาติ พร้อมทั้งกล่าวแสดงความชื่นชม ณ ห้องประชุมสภามหาวิทยาลัย ชั้น 5 อาคาร 31…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี tui sakrapeeOctober 31, 2024 มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จในการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ International Trade Fair – Ideas, Inventions and New Products : iENA 2024 ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี โดยมีผลงานเข้าร่วมทั้งหมด 3… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี tui sakrapeeOctober 31, 2024 มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จในการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ International Trade Fair – Ideas, Inventions and New Products : iENA 2024 ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี โดยมีผลงานเข้าร่วมทั้งหมด 3… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
มทร.ธัญบุรี สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทย ในเวทีโลก คว้า 6 รางวัล จากงาน “iENA 2024” เยอรมนี tui sakrapeeOctober 31, 2024 มทร.ธัญบุรี ทำสำเร็จในการประกวดผลงานวิจัยและนวัตกรรมนานาชาติ International Trade Fair – Ideas, Inventions and New Products : iENA 2024 ที่เมืองนูเรมเบิร์ก ประเทศเยอรมนี โดยมีผลงานเข้าร่วมทั้งหมด 3… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability EZ WebmasterOctober 30, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการด้าไทยและสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN Global Compact Network Thailand จัดงานแถลงข่าวเปิดตัวหลักสูตร “TOP Green Executive Program” โดยมีศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ กูริวัชร… มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt กิจกรรม 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร. 9 แห่ง จับมือ บพท. ผลักดันนวัตกรรมเเละเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาพื้นที่อย่างยั่งยืน tui sakrapeeOctober 30, 2024 รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) พร้อมอธิการบดี 8 มทร. ในนามเครือข่าย 9 ราชมงคล ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความเข้าใจ เรื่องการขับเคลื่อนนวัตกรรมพร้อมใช้และเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อพัฒนาพื้นที่ (Appropriate Technology) กับ นายกิตติ สัจจาวัฒนา ผู้อำนวยการหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่… ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt
ทุนโครงการ สควค. ประเภท 2 ระดับปริญญาโท EZ WebmasterOctober 30, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) โดยฝ่ายส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (สควค.) รับสมัครคัดเลือกทุนโครงการส่งเสริมการผลิตครูที่มีความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ (ทุนโครงการ สควค.) ประเภท 2 ระดับ ปริญญาโท ปีการศึกษา 2568 โดยเป็นผู้สำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขา ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์ วิทยาการคอมพิวเตอร์ หรือสาขาที่เกี่ยวข้องปีการศึกษา 2562-2566 หรือเป็นผู้ที่กำลังสำเร็จการศึกษาวิทยาศาสตร์บัณฑิตในสาขาดังกล่าว ปีการศึกษา 2567 สแกนดูรายละเอียดได้ที่ QR code สอบถามที่ ฝ่ายสควค.อีเมล psmt@ipst.ac.th เว็บไซต์ สควค. https://www.ipst.ac.th/unit-psmt
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป EZ Webmaster Related Posts 360 ที่นั่งเท่านั้น “ศิลปกรรมศาสตร์ สวนสุนันทา” รอบ Portfolio เปิดรับ 8 สาขาครบ จบทุกความต้องการ สร้างตน สร้างอนาคต ที่รามคำแหง รับนักศึกษาใหม่ ภาค 2 เฉพาะส่วนกลาง เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย มูลนิธิมิตซูบิชิ อิเล็คทริคไทย สานต่อโครงการประทีปเด็กไทย ต่อเนื่องเป็น ปีที่ 8 สวนสุนันทา เปิดรับรอบที่ 1 Portfolio 5,112 ที่นั่ง เริ่ม 1 พ.ย.นี้ Post navigation PREVIOUS Previous post: “สวนสุนันทา” เปิดรับรอบโควตา พร้อมให้คนมีความสามารถพิเศษเรียนฟรีกับโครงการ “ทุนเพชรสุนันทา”NEXT Next post: ตารางเวลาสอบใบอนุญาตประกอบวิชาชีพครู ประจำปี 2567 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม… Search for: Search
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม…
จุฬาฯ อันดับ 1 มหาวิทยาลัยไทย TOP ของประเทศ 3 ด้าน โดย THE WUR 2025 ครองอันดับ 1 ของประเทศไทย จาก 3 การจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก EZ WebmasterOctober 18, 2024 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยครองอันดับ 1 ในประเทศไทย และอันดับสูงสุดใน 3 ด้าน จากการจัดอันดับ THE WUR 2025 พร้อมคว้าอันดับ 1 ในหลายการจัดอันดับมหาวิทยาลัยระดับโลก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านการศึกษาและวิจัย ด้วยการครองอันดับ 1 ในประเทศไทยจากการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลก Times Higher Education (THE) World University Rankings 2025 ซึ่งประกาศผลเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม…
EZ Webmaster January 20, 2024 EZ Webmaster January 20, 2024 วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? วิวัฒนาการสอบเข้ามหาวิทยาลัย ทำไมจึงต้องเปลี่ยนวิธีการสอบหลายต่อหลายครั้ง ? การศึกษาไทยเป็นเรื่องที่มีความวุ่นวายซับซ้อนและเกิดความเหลื่อมล้ำมากมาย ซึ่งปัญหาต่าง ๆ ส่งผลให้เด็กต้องสอบหลายครั้ง ทั้ง GAT/PAT, 9 วิชาสามัญ และ O-NET ที่จัดตลอดทั้งปี หรือในบางคณะ บางมหาวิทยาลัย ก็จัดสอบตรงของตัวเองอีก เด็กจึงต้องวิ่งรอกสอบหลายครั้ง เสียค่าสมัคร ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มากมาย ซึ่งการสอบในปีก่อน ๆ มักจัดขึ้นในช่วงที่ยังไม่ปิดภาคเรียน ทำให้อาจารย์ต้องเร่งสอนเพื่อให้ทันการสอบ ส่งผลให้เด็ก ๆ ก็อาจจะเรียนได้ไม่เต็มที่ ดังนั้นที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยจึงคิดวิธีแก้ปัญหา เพื่อลดความเหลื่อมล้ำต่าง ๆ และต้องการให้เด็กนักเรียนได้มีสิทธิ์ในการศึกษาอย่างเสมอภาค จึงมีแผนการปรับเปลี่ยนการสอบเข้ามหาวิทยาลัยหลายต่อหลายครั้ง เราไปดูกันดีกว่าว่าการสอบเข้าตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ผ่านยุคการสอบแบบไหนมาบ้าง แล้วการปรับเปลี่ยนการสอบจะแก้ปัญหาได้จริงหรือไม่ ไปดูกันเลย (2504–2542) Entrance แบบเก่า 2504 เอ็นทรานซ์ (ครั้งแรก) เลือกคณะก่อนสอบ เลือกอันดับได้ 4-6 อันดับ ใช้คะแนน เอ็นทรานซ์ 100 % 2542 เอ็นทรานซ์ สอบแล้วเลือกคณะ มี 2 ครั้งต่อปี ครั้งที่ 1 ช่วง ต.ค. ครั้งที่ 2 ช่วง มี.ค. เพิ่ม GPAX 10% ระบบ Entrance ยุคแรก ปี 2504 – 2542 ระบบการสอบเข้ามหาวิทยาลัยในยุคแรก ๆ นั้น เกิดจากความร่วมมือกันของแต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้นจัดสอบขึ้นมากันเอง เพื่อแก้ปัญหาที่นักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบแต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาแห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบเอ็นทรานซ์ โดยใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ย( GPAX) ในโรงเรียนและสามารถสอบเทียบได้ แต่มันก็มีข้อเสีย เพราะทำให้เด็ก ๆ ม.6 เกิดความเครียดและความกดดัน เพราะการไม่มีตัวเลือกในการสอบ เพราะระบบเอ็นทรานซ์มีให้สอบรอบเดียว ระบบนี้ยังไม่มี GPAX ก็อาจส่งผลให้เด็กนักเรียนบางส่วนบ้าคลั่งในการสอบ จนไม่สนใจการเรียนในห้อง ที่สำคัญคือระบบนี้เราต้องเลือกมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ชื่นชอบก่อนที่จะสอบ โดยที่เราไม่รู้ว่าคะแนนของตัวเองได้เท่าไหร่ อาจทำให้เราพลาดโอกาสไปได้ (2543–2548) Entrance แบบใหม่ 2543 เพิ่ม GPAX 25% ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี 2542-2548 ยุคต่อมาจึงได้ปรับรูปแบบการสอบใหม่ จากคำเรียกร้องจากนักเรียน ที่ต้องการตัวเลือกในการสอบมากกว่า 1 ครั้ง โดยเปิดให้สอบเอ็นทรานซ์ได้ถึง 2 ครั้ง คือ ช่วงเดือนตุลาคม และเดือนมีนาคม เมื่อเป็นเช่นนี้ก็จะทำให้นักเรียนได้รู้คะแนนสอบตัวเองก่อนที่จะเลือกมหาวิทยาลัย และสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นคณะได้ 4 อันดับ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนคะแนนอีกด้วย จากเดิมที่ใช้คะแนนสอบเอ็นทรานซ์ 100% จึงมีการเปลี่ยนแปลงเป็นการเพิ่มการใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะแนนด้วย ประมาณ 10% (2549–2552) Admissions 2549 แอดมิชชั่น ยกเลิกเอ็นทรานซ์ เริ่มสอบ O-NET , A-NET เพิ่ม GPAX 30 % 2552 แอดมิชชั่น ยกเลิก A-NET(dek52 สอบปีสุดท้าย) เปลี่ยนเป็น GPAX 20 % เริ่มสอบ GAT/PAT (dek53 ปีแรก)ใช้คะแนนรวมกัน 50 % GAT/PAT สอบ 4 ครั้ง (ตั้งแต่ปี 54 ลดเหลือ 2 ครั้ง) ในยุคต่อมา ระบบ Admission : O-NET, A-NET ปี 2549-2552 หลังปี 2548 มาก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์ เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิตที่เรียกว่า แอดมิชชั่น (Admission) แทน ในยุคนี้ได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบจากเยงเรียกร้องจากนักเรียน โดยเพิ่มรูปแบบข้อสอบแบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET และ A-NET ซึ่งสัดส่วนคะแนนนั้น จะประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะแนน O-NET และ A-NET และในปี 2552 มีการปรับเปลี่ยนวิธีการสอบ โดยการยกเลิก A-NET แล้วเปลี่ยนมาใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% และใช้คะแนนจาก GAT/PAT ใช้คะแนนรวมกัน 50 % และยังให้มีการสอบ GAT/PAT 4 ครั้งต่อปีอีกด้วย (2553-2560) Admissions 2553 แอดมิชชั่น ใช้ GAT/PAT ปีแรก เปลี่ยนสัดส่วนมาเป็นใช้ GPAX 20% O-NET 30% GAT/PAT 50% (ขึ้นอยู่กับคณะ) 2556 แอดมิชชั่น สอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง เริ่มสอบ 7 วิชาสามัญ และระบบเคลียร์ริงเฮาส์ 2559 แอดมิชชั่น เปลี่ยนจาก 7 วิชาสามัญเป็น 9 วิชาสามัญ 2560 แอดมิชชั่น ยุค Clearing House ช่วงแรก ใช้ระบบสอบกลางครั้งเดียว สอบ GAT/PAT และ 9 วิชาสามัญ ช่วงที่ 2 ระบบ Clearing House 2 รอบ เลือกอันดับการเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ ต่อมา ในปี 2556 ลดการสอบ GAT/PAT ลดเหลือ 2 ครั้ง และเริ่มมีการสอบ 7 วิชาสามัญ และมีระบบเคลียริ่งเฮ้าส์ ซึ่งระบบคัดเลือกดังกล่าวทำให้เกิดปัญหาตามมา 3 ประการหลัก ได้แก่ การไม่เข้าห้องเรียนของผู้ที่สอบติดในรอบรับตรงและของผู้ที่มีคะแนนสอบ GAT-PAT รอบแรก (กำหนดสอบเดือนตุลาคม-พฤศจิกายน) สูง การตระเวนสอบตรงเพื่อให้มีที่เรียน ซึ่งทำให้เด็กรวยมีโอกาสได้ที่เรียนมากกว่า เพราะมีทุนในการยื่นสมัครหลายที่มากกว่าเด็กจน และ “การกั๊กที่” ของผู้สอบติดหลายที่ในรอบรับตรงแต่ไม่สละสิทธิ์ ส่งผลให้ผู้สมัครคนอื่นเสียโอกาสในการได้ที่เรียน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย (สอท.) ในขณะนั้น จึงได้จัดทำระบบ Clearing house เพื่อรวบรวมรายชื่อผู้สอบติดจากรอบรับตรงไว้ที่ส่วนกลาง และให้ผู้ผ่านการคัดเลือกยืนยันสิทธิ์เข้าเรียนของตนได้เพียง 1 ที่ หลังจากนั้น ผู้ที่ยืนยันสิทธิ์แล้วจะถูกตัดสิทธิ์จากรอบ Admissions และจากคณะอื่นในระบบ Clearing house อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการเข้าร่วมระบบ Clearing house เป็นไปตามความสมัครใจ โครงการ/มหาวิทยาลัยจำนวนไม่น้อยจึงยังไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house โดยในปีการศึกษา 2560 มีมหาวิทยาลัยที่เป็นสมาชิก ทปอ. เข้าร่วมระบบ Clearing house ทั้งสิ้น 11 แห่ง จากทั้งหมด 27 แห่ง (ไม่นับรวมกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทยที่เข้าร่วมเช่นกัน) และในจำนวนนี้ ก็ไม่ใช่ทุกโครงการหรือทุกคณะที่เข้าร่วมในระบบ Clearing house ผลก็คือ ถึงแม้ว่าจะมีระบบการยืนยันสิทธิ์แล้ว การกั๊กที่ก็ยังเกิดขึ้นได้ในกรณีที่ผู้สมัครสอบติดในโครงการ/มหาวิทยาลัยที่ไม่ได้เข้าร่วมระบบ Clearing house 2561-เป็นต้นมา TCAS 2561 TCAS การคัดเลือก 5 รอบ มีดังนี้ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน รอบที่ 4 Admissions รอบที่ 5 รับตรงอิสระ ต่อมาในยุคของระบบ TCAS ปี 2561-2564 มาถึงระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้รอบ “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน เพื่อแก้ปัญหาการกั๊กที่กั๊กสิทธิ์ และเพื่อลดความเหลื่อมล้ำ โดยมีหลักสำคัญ 3 ข้อคือ 1.จัดการสิทธิ์ 1คน1สิทธิ์ 2.นักเรียนไม่วิ่งรอกสอบ 3. นักเรียนอยู่ในห้องเรียนจนจบ ม.6 แล้วค่อยสอบ(ข้อสอบกลาง) ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว 2564 TCAS เปลี่ยนเป็นการคัดเลือก 4 รอบ รอบที่ 1 Portfolio (แฟ้มสะสมผลงาน) รอบที่ 2 Quota (โควตา) รอบที่ 3 Combined Admission = รวม Admission 1 และ Admission 2 ให้สมัครพร้อมกัน โดยประกาศผล 2 ครั้ง รอบที่ 4 Direct Admission (รับตรงอิสระ) กระทั่งปี 2564 ได้ยุบรอบการคัดเลือกเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมและรอบแอดมิชชันเหมือนเดิม แต่เปิดให้ยื่นคะแนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธิ์ และมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิเข้าศึกษาได้ จะเห็นได้ว่าการแก้ไขปัญหาของทาง ทปอ. เป็นการแก้ไขปัญหาที่ปลายเหตุ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้ว ทุกครั้งที่มีการเปลี่ยนแปลงการสอบ ก็มักจะมีปัญหาระบบตามมา ชี้ให้เห็นว่า ระบบ TCAS ไม่อาจแก้ไขปัญหาความเหลื่อมล้ำได้เลย ชี้ให้เห็นถึงปัญหาความได้เปรียบ-เสียเปรียบระหว่างเด็กรวย-จน และปัญหาการไม่เข้าเรียนจนจบการศึกษาได้ดีตามที่ ทปอ. ตั้งใจ ยิ่งไปกว่านั้น หากย้อนกลับไปดูการเปลี่ยนแปลงระบบการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาที่ผ่านมา จะเห็นได้ชัดเจนว่า ระบบการสอบของ ทปอ. กลับเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้ระบบการคัดเลือกนักศึกษาของไทยวนเวียนอยู่เช่นนี้ เพราะระบบการสอบของ ทปอ. ยังสร้างภาระและต้นทุนทางการเงินและทางสุขภาพให้กับเด็ก ทั้งจากการสอบมากครั้ง การเรียนกวดวิชา การหาข้อมูลและเตรียมความพร้อมสำหรับระบบรับสมัครที่เปลี่ยนแปลงไปมา ตลอดจนความไม่เท่าเทียมของโอกาสในการเข้าศึกษา ซึ่งก็คือภาระการเตรียมตัวสอบอันหนักหน่วงของเด็ก ทั้งที่การสอบนั้นก็ไม่อาจชี้วัดความสามารถและความเหมาะสมของเด็กในการเข้าศึกษาในแต่ละโครงการได้ดีแต่อย่างใด ซึ่งหวังว่าในอนาคต ทางผู้หลักผู้ใหญ่จะสามารถหาระบบการสอบที่ลงตัวกับทุกฝ่าย และไม่สร้างปัญหาให้ทั้งเด็กและผู้ปกครองอีกต่อไป
เตรียมพบ “Exclusive Clip” กับ “สหพัฒน์แอดมิชชั่น” สำหรับ DEK68 ที่อยากเป็นหมอ พร้อมร่วมกิจกรรมถามตอบโค้งสุดท้าย