มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ เชิญชวนนักเรียนจากประเทศไทย สมัครเรียนสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดิส กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาแพทย์จากประเทศไทยสำหรับภาคการศึกษาเดือนมกราคม 2568 นี้ ด้วยระบบการรับสมัครที่ยืดหยุ่น มหาลัยมีให้เลือกเริ่มเรียนสามช่วงในแต่ละปี—มกราคม เมษายน และสิงหาคม— แคมปัส True Blue อันโดดเด่นของ SGU เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ออกแบบเส้นทางการศึกษาในด้านการแพทย์ ตอบโจทย์ทั้งความฝันการเป็นแพทย์และความต้องการส่วนตัว… “สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สหพัฒน์” หรือ SPC สานต่อโครงการ “สหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” เฟ้นหายอดมนุษย์ตัวจิ๋ว ปักหมุดปีนี้เช็กอินโรงเรียน 26 แห่ง EZ WebmasterNovember 15, 2024 ผ่านมาแล้ว 9 เดือน สำหรับการดำเนิน “โครงการสหพัฒน์ให้น้อง ปี 8” อีกหนึ่งโครงการดี ๆ ที่บริษัท สหพัฒนพิบูล จำกัด (มหาชน) หรือ SPC ดำเนินการมาอย่างมุ่งมั่นมาแล้วหลายปีต่อเนื่อง ภายใต้เป้าหมายสำคัญในการสนับสนุนเยาวชนไทยให้เห็นคุณค่าของ การทำความดี ปลูกฝังเยาวชนไทยตั้งแต่วัยเด็ก ให้เติบโตขึ้นเป็นพลเมืองที่ดีและมีความซื่อสัตย์ ด้วยการส่งต่อเรื่องราวเพื่อเป็นแรงบันดาลใจผ่านทางรายการสร้างสรรค์เพื่อสังคม “อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ” รองประธานกรรมการ บริษัท… มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… นักศึกษา สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัคร TCAS 1 รอบ Portfolio วันนี้ – 8 ธ.ค. 67 tui sakrapeeNovember 14, 2024 มทร.ธัญบุรี เปิดรับสมัครนักศึกษาปริญญาตรีปี 2568 ระบบ TCAS มุ่งเน้นคุณภาพและโอกาสการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) กำลังเปิดรับสมัครนักศึกษาระดับปริญญาตรี ประจำปีการศึกษา 2568 โดยมุ่งสร้างโอกาสทางการศึกษาแก่เยาวชนที่ต้องการพัฒนาความรู้สู่อนาคตที่มั่นคงและมีคุณภาพ ผู้สนใจสามารถสมัครได้ในระบบ TCAS ทั้ง 4 รอบ ได้แก่… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (สจล.) ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ร่วมกับ บริษัท อมตะ คอร์ปอเรชัน จำกัด(มหาชน) โดยบริษัท อมตะ ฟาซิลิตี้ เซอร์วิส จำกัด โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร. คมสัน มาลีสี… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น… ทุนดีดี เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก EZ WebmasterNovember 15, 2024 หลังจากที่มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ร่วมแสดงความยินดีกับ นางสาวปิยภัสรา แก้วตีนแท่น นิสิตคณะเภสัชศาสตร์ ที่ชนะการประกวด logo หมูเด้ง ชนะใจแฟนคลับทั่วประเทศ กว่า 57,520 คน จากผู้โหวตกว่า 100,000 คน รับเงินรางวัล 10,000 บาท… “ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
“ศิลปกรรมศาสตร์’ สวนสุนันทา เตรียมเป็นเจ้าภาพจัดนิทรรศการศิลปะและการออกแบบนานาชาติ ANBD 2024 BANGKOK” tui sakrapeeNovember 12, 2024 คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา ร่วมกับ สมาคม Asia Network Beyond Design (ANBD) เตรียมจัดงานแสดงนิทรรศการศิลปะและการออกแบบหมุนเวียนนานาชาติ ANBD 2024 เพื่อสะท้อนแนวคิดและเผยแพร่ผลงานการออกแบบให้ได้ชม พร้อมเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ในระดับสากล ซึ่งได้นำผลงานการออกแบบของศิลปินและนักออกแบบจากหลากหลายประเทศ เช่น เกาหลี ญี่ปุ่น…
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … ครู-อาจารย์ ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา …
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 tui sakrapeeNovember 15, 2024 เมื่อวันจันทร์ ที่ 11 พฤศจิกายน 2567 ดร.วิชิต อิ่มอารมย์ ประธานหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการนันทนาการ การท่องเที่ยวและกีฬา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ อดีต รองอธิการบดี ฝ่ายกิจการนักศึกษา ม.ศิลปากร และยังเป็นศิษย์เก่าของโรงเรียนบ้านหนองขุ่น… มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต EZ WebmasterNovember 15, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) มหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีรากฐานการศึกษาแข็งแกร่งในการผลิตวิชาชีพครูชั้นสูงแห่งแรกแห่งเดียวในประเทศไทยมานาน 75 ปี จัดงานแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการในนิทรรศการเผยแพร่ระบบการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการและระบบการศึกษาตลอดชีวิต (SWU Lifelong Learning) พร้อมเปิดหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒให้แก่คณาจารย์ นิสิตและผู้สนใจทั่วไปในรูปแบบการเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการศึกษาที่เรียนรู้ได้อย่างตลอดชีวิตจากความเชื่อมั่นที่ว่า “การศึกษาคือเครื่องมือทางรอดแห่งมวลมนุษยชาติที่แท้จริง” ศาสตราจารย์… จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม… กิจกรรม ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability tui sakrapeeNovember 14, 2024 จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม หอการค้าไทย และสภาหอการค้าไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ UN… SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17 – 18 ธ.ค.นี้ tui sakrapeeNovember 13, 2024 SSRU Open House 2024 – 🌟 Unlock Your Mind 🌟 “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” 📅 วันที่ 17 – 18 ธันวาคม…
ราชมงคลพระนคร เปิดห้องเรียนอัพสกิล ปั้นแรงงานภาคอุตสาหกรรม สู่บัณฑิตพันธุ์ใหม่ EZ WebmasterNovember 15, 2024 สถาบันสหวิทยาการดิจิทัลและหุ่นยนต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) จัดอบรมพัฒนาศักยภาพหลักสูตร “การพัฒนาสมรรถนะการบูรณาการระบบอัตโนมัติกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเพื่อสร้างแบบแผนการผลิตที่ยั่งยืน” ซึ่งเป็นหนึ่งในโครงการบัณฑิตพันธุ์ใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) ประปีงบประมาณ พ.ศ.2567 เพื่อสร้างกำลังคนที่มีสมรรถนะสูงสำหรับภาคอุตสาหกรรม (New Growth Engine) โดยมี ผศ.ดร.ปริญญ์ บุญกนิษฐ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนานวัตกรรม ราชมงคลพระนคร… หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน EZ Webmaster Related Posts สจล. จับมือ อมตะ ฟาซิลิตี้ฯ ยกระดับและพัฒนาทักษะแรงงานพร้อมรับมือเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดด ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1 มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปิดใจน้องเฟิร์น นิสิตเภสัชศาสตร์ มมส ออกแบบโลโก้หมูเด้ง เด้งไกลทั่วโลก จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability Post navigation PREVIOUS Previous post: ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง?NEXT Next post: มทร.ธัญบุรี สรรหาคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หอการค้าอุดรฯ จับมือ ม.หอการค้าไทยบุกเบิกเวิร์คชอปเศรษฐกิจหมุนเวียนภาคอีสาน EZ WebmasterNovember 15, 2024 หอการค้าไทย โดยสถาบันวิทยาการเศรษฐกิจหมุนเวียนเพื่อผู้ประกอบการและผู้บริโภค (CE Academy) มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย นำร่องจังหวัดแรกภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จัดเวิร์คชอปบ่มเพาะเศรษฐกิจหมุนเวียนร่วมกับ หอการค้าจังหวัดอุดรธานี การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการตามแผนงาน LET’S GROW CIRCULAR มุ่งส่งเสริมเครือข่าย mSME หอการค้าจังหวัดอุดรธานี โดยปูพื้นฐานความเข้าใจเรื่องการก้าวสู่สังคมคาร์บอนต่ำกับการแก้ปัญหาทรัพยากรและของเสีย โดย รศ.ดร.รุ่งรัตน์… ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก… Search for: Search
ม.รังสิต จับมือ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์คฯ สร้างสรรค์หลักสูตรกีฬากอล์ฟ ที่ครอบคลุมในทุกมิติของอุตสาหกรรมกอล์ฟ EZ WebmasterNovember 11, 2024 วิทยาลัยการกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ มูลนิธิกอล์ฟไทย และสนามกอล์ฟวินด์เซอร์ปาร์ค แอนด์ กอล์ฟคลับ จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) เดินหน้าพัฒนาหลักสูตรกีฬากอล์ฟ เสริมสร้างศักยภาพของนักศึกษาและบุคลากร ให้พร้อมสู่การขับเคลื่อนอุตสาหกรรมกอล์ฟไทยสู่สากล ณ ห้องประชุม 1-801 ตึก 1 อาคารอาทิตย์อุไรรัตน์… UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
UN เยี่ยมชมผลงานนิสิต มศว กับโปรเจกต์ The PAUSE Project : คิด & Pitch Power Camp EZ WebmasterNovember 11, 2024 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) ให้การต้อนรับ Mr. Jean Todt (กลาง) ผู้บริหารจาก UN (United Nations Secretary-General’s Special Envoy for Road Safety) ตัวแทนจาก…
EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น การพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ไม่ว่าจะเป็นในเชิงการแข่งขันทางเศรษฐกิจ การพัฒนาทรัพยากรบุคคลทักษะสูง การยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทำให้ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา รัฐบาลจึงมีการปฏิรูประบบวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม หรือ ววน. ของประเทศขึ้นมาใหม่ ผ่านการจัดตั้งกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กองทุน ววน.) เพื่อให้การสนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัยของประเทศเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ลดความซ้ำซ้อน และส่งเสริมให้เกิดการนำผลงานวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรม โดยรัฐบาลยังได้มอบหมายให้สำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว.เป็นฝ่ายเลขานุการของกองทุน ววน. ทำหน้าที่ส่งเสริม สนับสนุน และขับเคลื่อนระบบ ววน. ใน 5 ด้านสำคัญ ได้แก่ 1. การจัดทำแผน 2. การจัดสรรงบประมาณของกองทุน ววน. 3. การส่งเสริมกลไกการพัฒนาระบบ 4. สร้างระบบการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ และ 5.การติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ซึ่งการปฏิรูประบบ ววน. ของประเทศกำลังเดินทางเข้าสู่ปีที่ 5 กับแผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2566-2570) ทั้งนี้ เพื่อฉายภาพความสำคัญของระบบ ววน. ให้มากยิ่งขึ้น รศ.ดร.ปัทมาวดี โพชนุกูล ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม หรือ สกสว. จึงมีแนวทางการเดินหน้างานด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมของประเทศให้เข้มแข็งและถูกนำไปใช้อย่างตรงกับความต้องการในหลากหลายด้าน ตลอดจนฉายภาพความท้าทาย ในปี 2567 ที่จะทำให้วิจัย นวัตกรรม และวิทยาศาสตร์ถูกนำไปใช้ได้ตรงกับทุกบริบท 186 หน่วยงาน กับการสานต่องบประมาณด้าน ววน. หลังปฏิรูปฯ การจัดสรรงบประมาณด้าน ววน. ของประเทศผ่านกองทุน ววน. ซึ่งแบ่งงบประมาณออกเป็น 2 ส่วนหลัก คือ งบประมาณในการสนับสนุนการวิจัยขั้นพื้นฐานและเสริมสร้างศักยภาพการวิจัยให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกกระทรวง อว. (Fundamental Fund, FF) ณ ปัจจุบันมีหน่วยงานที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ รวม 186 หน่วยงาน และงบประมาณในการสนับสนุนความจำเป็นเร่งด่วนสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของชาติ (Strategic Fund, SF) ผ่านหน่วยบริหารและจัดการทุนทั้ง 9 หน่วยงาน ประกอบด้วย 1. สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2. สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (NIA) 3. สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร องค์การมหาชน (สวก.) 4. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) 5. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) 6. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัย และสร้างนวัตกรรม (บพค.) 7. หน่วยบริหารจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) 8. ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (TCELS) และ 9. สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (NVI) ขณะที่แผนด้าน ววน. ฉบับที่ 2 นี้มีการสนับสนุนงบประมาณเพิ่มเติมอีก 2 ส่วน คือ งบประมาณส่งเสริมการนำผลงานไปใช้ประโยชน์ (Research Utilization, RU) มุ่งเน้นการใช้ผลงานวิจัยเพื่อประโยชน์เชิงพาณิชย์และเชิงสาธารณะทั้งในระดับพื้นที่และระดับประเทศ แบบบูรณาการทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถานศึกษา และภาคประชาสังคม ภายใต้ พรบ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ผลงานวิจัยและนวัตกรรม พ.ศ. 2564 และงบประมาณส่งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology, ST) มุ่งเน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์และโครงสร้างพื้นฐานคุณภาพสนับสนุนระบบนิเวศของการขับเคลื่อนวิทยาการใหม่พร้อมกับสร้างโอกาสในการแข่งขันให้กับประเทศ อีกทั้งยังเป็นการแก้ไขข้อจำกัดในการสนับสนุนงบประมาณโครงสร้างพื้นฐานและครุภัณฑ์ของหน่วยงานที่ให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ “วิจัย” ที่สอดคล้องกับความจำเป็นของประเทศ จากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศ และความไม่แน่นอนของสถานการณ์ทางการเมืองของแต่ละภูมิภาคในโลก ประเทศไทยจำเป็นต้องมีความยืดหยุ่นเพื่อพร้อมรับมือกับบริบทโลกเหล่านี้ เช่นเดียวกัน แผนด้าน ววน. จึงต้องสอดคล้องกับความต้องการของประเทศอย่างทันเหตุการณ์ ทำให้ต้องมีการทบทวนแผนด้าน ววน. ตัวชี้วัดและค่าเป้าหมาย ให้เหมาะสม เช่น การให้ความสำคัญกับการสนับสนุน ววน. ด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์และซอฟท์พาวเวอร์ ความเป็นกลางทางคาร์บอน การแก้ปัญหาความยากจน และการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ และมีความยืดหยุ่นในการจัดสรรงบประมาณมากขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและนโยบายที่สำคัญของประเทศ โดยให้ความสำคัญกับการจัดสรรงบประมาณแบบผูกพันงบประมาณมากกว่า 1 ปี (Multi-year Promised Grant) เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ต่อเนื่อง โดยในปี 2566-2567 ได้สนับสนุนจำนวน 4 โครงการ ได้แก่ 1) โครงการ “การวิจัยทางคลินิกและการขึ้นทะเบียนวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S” โดย NVI เป้าหมายคือ การผลิตวัคซีนโควิด-19 ชนิด NDV-HXP-S แบบ Full License ซึ่งคลอบคลุมสำหรับกลุ่มอายุ 3 ปีขึ้นไป รวมถึงในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ เสร็จสมบูรณ์ในปี 2570 และสามารถใช้ได้จริงในการให้บริการ และมีความพร้อมในการให้บริการทั้งในและต่างประเทศ 2) โครงการ “การพัฒนายานยนต์ไฟฟ้าเชิงพาณิชย์และแบตเตอรี่แพ็คที่มีคุณภาพและราคาที่เหมาะสมตอบสนองความต้องการเฉพาะด้านและแข่งขันได้กับสินค้านำเข้าจากต่างประเทศ” โดย บพข. เป้าหมายคือ 1)ผลิตแบตเตอรี่แพ็คที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดการประกอบแบตเตอรี่โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด และ 2) ยานยนต์ไฟฟ้าที่ร่วมกันออกแบบและพัฒนาต่อยอดระบบการประกอบ (System Integration) โดยคนไทย โดยการนำเข้าชิ้นส่วนหลักที่สำคัญจากต่างประเทศ และใช้ชิ้นส่วนสนับสนุน (Suppliers) ในประเทศ (Local Content) อย่างน้อย 20% ให้ผลิตได้ในเชิงพาณิชย์ และผ่านการทดสอบมาตรฐานความปลอดภัยเทียบเท่าระดับสากล พร้อมขายออกสู่ตลาด 3) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มแก้ไขปัญหาและขจัดความยากจนเพื่อลดความเหลื่อมล้ำแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำแบบบูรณาการใน 5 จังหวัดเป้าหมาย” โดย บพท. เป้าหมายคือ แพลตฟอร์มขจัดความยากจนแบบเบ็ดเสร็จและแม่นยำระดับจังหวัด (Provincial Poverty Alleviation Platform: PPAP) ซึ่งพื้นที่วิจัยเชิงยุทธศาสตร์ 7 จังหวัด นำไปใช้ในการขับเคลื่อนงานขจัดความยากจนในพื้นที่ 4) โครงการ “การพัฒนาแพลตฟอร์มธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น และการจัดการทุนทางวัฒนธรรมชุมชน เพื่อยกระดับเศรษฐกิจฐานรากและแก้หนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือน” โดย บพท. เป้าหมายคือ การพัฒนาระบบการจัดการทุนทางวัฒนธรรม และการพัฒนาระบบจัดการธุรกิจชุมชนบนฐานทุนทางทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น (Local Enterprise) เพื่อการสร้างรายได้ให้กับชุมชน กระจายรายได้ให้กับชุมชน และหนี้ระดับธุรกิจและครัวเรือนกลุ่มเป้าหมายลดลง กองทุนววน.สอดรับความต้องการด้วยการประเมินผล เพื่อให้สามารถระบุปัญหาและช่องว่างของการพัฒนาระบบ ววน. จึงได้จัดทำการทบทวนและประเมินผลการดำเนินงาน โดยมีการทบทวนความสอดคล้องระหว่างศักยภาพของ PMU และหน่วยงานที่ทำวิจัยกับงบประมาณที่จัดสรรให้ ทั้งในด้านการดำเนินงานตามแผน ด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล (Past Performance) ด้านกระบวนการบริหารจัดการ รวมถึงการประเมินความสำเร็จของกองทุน ววน. ที่สามารถสร้างผลลัพธ์ผลกระทบ ตลอดจนนำข้อมูลในอดีตมาวิเคราะห์สู่การปรับปรุง พร้อมกันนี้เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ สกสว. จึงมีการจัดการอบรมพัฒนาเครือข่ายเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงของระบบ ววน. ให้ผู้บริหารระดับสูงและเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการของหน่วยงานไม่ว่าจะเป็น โครงการพัฒนาผู้จัดการงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรระดับปฏิบัติการด้านการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรม ส่งเสริมให้เกิดการออกแบบงานวิจัยอย่างมีประสิทธิภาพ เล็งเห็นเป้าหมายปลายทางของการวิจัย นำมาซึ่งผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบ ขับเคลื่อนไปสู่การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน หรือ one ววน. ปี พ.ศ. 2567 ปีแห่งความท้าทาย นอกจากการส่งเสริมระบบ ววน. ตามพันธกิจแล้ว การตอบสนองนโยบายของรัฐบาลใหม่ก็เป็นสิ่งที่ สกสว. ให้ความสำคัญและเตรียมพร้อม โดยมองว่าในช่วง 6 เดือนข้างหน้า มีประเด็นท้าทายไม่ว่าจะเป็น 1. การศึกษาแนวทางในการจัดตั้งกองทุนร่วมลงทุนในสตาร์ทอัพ ผ่านการร่วมทุนกับนักลงทุนมืออาชีพ เพื่อสร้างผู้ประกอบการใหม่ที่มีสินค้าและบริการจากงานวิจัย 2.การพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจร่วมกับสภาพัฒน์ด้วยแนวทางเอกชนนำ รัฐสนับสนุน เพื่อให้เกิดการลงทุนและยกระดับกำลังคนให้มีทักษะสูง 3.การแก้ปัญหาฝุ่น PM 2.5 แบบครบวงจร นำร่องในพื้นที่ภาคเหนือ 4.การนำงานวิจัยมายกระดับภาคการเกษตรเพื่อลดต้นทุนและสร้างรายได้สู่การเกษตรมูลค่าสูง 5. แผนการลงทุนด้าน ววน. ในอุตสาหกรรมเซมิคอนดักเตอร์และดิจิทัล AI 6. การเปิดใช้งาน open data ของกองทุน ววน. ให้กับสาธารณะ เพื่อใช้ในการหาข้อมูลงานวิจัย เทคโนโลยีที่พร้อมใช้ และโครงการพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ที่พร้อมให้บริการในแต่ละพื้นที่ และ 7.การเร่งวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสีเขียว เทคโนโลยีกักเก็บก๊าซเรือนกระจกรวมถึงการนำไปใช้ เพื่อสนับสนุนเป้าหมายความเป็นกลางทางคาร์บอนของประเทศ ที่กล่าวมานี้ ต้องอาศัยการบูรณาการข้ามศาสตร์ ข้ามหน่วยงาน ลดช่องว่างของอุปสรรคการทำงานร่วมกัน โดย สกสว. เองพร้อมให้การสนับสนุนในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศด้วยวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม เพื่อให้ประเทศไทยก้าวสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วอย่างยั่งยืน
ครู-นักเรียน โรงเรียนบ้านหนองขุ่นมิตรภาพที่ 136 ต้อนรับ “ดร.วิชิต อิ่มอารมย์” ศิษย์เก่าคืนถิ่น พร้อมเดินหน้าโครงการสุขที่ให้…เพื่อน้องได้เรียน ปีที่ 1
มศว มหาวิทยาลัยเพื่อสังคม กับหลักสูตรออนไลน์ SWU Learning Ecosystem ระบบนิเวศเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
จุฬาฯ จับมือกรม Climate Change และเครือข่ายพันธมิตรภาคเอกชน เปิดตัวหลักสูตร “TOP Green” หลักสูตรผู้บริหารระดับสูงด้าน Sustainability