มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 tui sakrapeeDecember 27, 2024 วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (มหิดลอินเตอร์) เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี หลักสูตรนานาชาติ รอบที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2565-2566 จำนวน 17 หลักสูตรทางออนไลน์ ระหว่างวันที่ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (BACHELOR… โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) มหาวิทยาลัยศิลปากร เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 มาตรฐานหลักสูตรการโรงแรมจากประเทศฝรั่งเศส ได้ฝึกปฏิบัติจริงจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ ได้ใช้อุปกรณ์การเรียนการสอนตามมาตรฐานสากล สิ่งอำนวยความสะดวกทันสมัย พร้อมกับโอกาสดูงานและฝึกงานทั้งในและต่างประเทศ… สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระเดช เจียรสุขสกุล ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงการผลิตและจำหน่ายสื่อหลักและสื่อเสริมของ สสวท.ประจำปี 2568 กับนายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. พร้อมทั้งแถลงข่าวเรื่อง ความร่วมมือเดินหน้าการผลิตหนังสือเรียนและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ประจำปี 2568 โดยมีนางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.และ นายภกร รงค์นพรัตน์ รองผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค.… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… นักศึกษา Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาม.ซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ประทับใจ สวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา tui sakrapeeDecember 27, 2024 Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ พร้อมสวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญภัส อู่ตะเภา คณบดีวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ พร้อมด้วยผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษาทุนแลกเปลี่ยนโครงการบินลัดฟ้าไปประเทศเกาหลีใต้ รุ่นที่ 2 ร่วมให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และพิธีมอบใบประกาศนียบัตรฯ… รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) มหาวิทยาลัยศิลปากร เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 มาตรฐานหลักสูตรการโรงแรมจากประเทศฝรั่งเศส ได้ฝึกปฏิบัติจริงจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ ได้ใช้อุปกรณ์การเรียนการสอนตามมาตรฐานสากล สิ่งอำนวยความสะดวกทันสมัย พร้อมกับโอกาสดูงานและฝึกงานทั้งในและต่างประเทศ… สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระเดช เจียรสุขสกุล ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงการผลิตและจำหน่ายสื่อหลักและสื่อเสริมของ สสวท.ประจำปี 2568 กับนายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. พร้อมทั้งแถลงข่าวเรื่อง ความร่วมมือเดินหน้าการผลิตหนังสือเรียนและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ประจำปี 2568 โดยมีนางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.และ นายภกร รงค์นพรัตน์ รองผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค.… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… นักศึกษา Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาม.ซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ประทับใจ สวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา tui sakrapeeDecember 27, 2024 Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ พร้อมสวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญภัส อู่ตะเภา คณบดีวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ พร้อมด้วยผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษาทุนแลกเปลี่ยนโครงการบินลัดฟ้าไปประเทศเกาหลีใต้ รุ่นที่ 2 ร่วมให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และพิธีมอบใบประกาศนียบัตรฯ… รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระเดช เจียรสุขสกุล ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงการผลิตและจำหน่ายสื่อหลักและสื่อเสริมของ สสวท.ประจำปี 2568 กับนายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. พร้อมทั้งแถลงข่าวเรื่อง ความร่วมมือเดินหน้าการผลิตหนังสือเรียนและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ประจำปี 2568 โดยมีนางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.และ นายภกร รงค์นพรัตน์ รองผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค.… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้…
สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้…
Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาม.ซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ประทับใจ สวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา tui sakrapeeDecember 27, 2024 Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ พร้อมสวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญภัส อู่ตะเภา คณบดีวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ พร้อมด้วยผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษาทุนแลกเปลี่ยนโครงการบินลัดฟ้าไปประเทศเกาหลีใต้ รุ่นที่ 2 ร่วมให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และพิธีมอบใบประกาศนียบัตรฯ… รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี…
SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก…
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก…
ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง EZ Webmaster Related Posts CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ 25 การสื่อสาร ทักษะที่ควรมีติดตัว Post navigation PREVIOUS Previous post: ยอดสมัคร TCAS67 รอบ3 1.32 แสนคน ‘พยาบาล’ แชมป์ ‘เกษตรฯ -ศิลปากร’ dek67 สมัครมากสุดNEXT Next post: สจล. เปิดรับสมัครบุคคล เพื่อสอบเข้าคัดเลือกบรรจุเข้าเป็นพนักงานสถาบัน สายวิชาการ ตำแหน่งอาจารย์ 32 อัตรา Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย…
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย…
EZ Webmaster May 15, 2024 EZ Webmaster May 15, 2024 พม. หนุน 6 มหาวิทยาลัยนำร่องพัฒนาหลักสูตรทักษะอาชีพคนพิการระดับภูมิภาค จากข้อมูลสถิติการจ้างงานคนพิการในสถานประกอบการปี 2566 พบว่า หน่วยงานภาครัฐมีการจ้างงานคนพิการเพียงร้อยละ 18.73 เท่านั้น ในขณะที่สถานประกอบการภาคเอกชนที่ต้องเข้าเกณฑ์การจ้างงานคนพิการตามที่กฎหมายกำหนด (มีลูกจ้าง 100 คนขึ้นไป) ที่เลือกใช้วิธีการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ภายใต้มาตรา 34 แทนการจ้างงานคนพิการ ส่วนหนึ่งเหตุผลว่าไม่มั่นใจในคุณสมบัติของคนพิการว่าจะสอดคล้องกับความต้องการหรือสามารถทำงานในส่วนรับผิดชอบได้เหมือนกับคนทั่วไป นั่นจึงเป็นที่มาของ โครงการการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพ ผ่านโมเดลการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เพื่อส่งต่อองค์ความรู้และแนวทางในการทำงานของโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) ให้กับมหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่อง 5 แห่ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่นมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วิทยาเขตสุพรรณบุรี และสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เพื่อให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายนำร่องแต่ละแห่งพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาศักยภาพคนพิการเพื่อการประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับบริบทพื้นที่ของตนเอง โดยในปีแรกของโครงการ (1 เมษายน 2567 – 31 มีนาคม 2568) ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) มาตรา 34 เป็นเงินจำนวนกว่า 23,000,000 บาท สำหรับจัดอบรมและฝึกงานคนพิการรุ่นที่ 1 รวมทั้งสิ้น 300 คน รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวว่า เป้าหมายของการขยายผลเครือข่ายอุดมศึกษา คือ การ Upskill-Reskill และสร้างโอกาสที่เท่าเทียมในการทำงาน และมีรายได้เลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนของคนพิการ ประกอบกับโครงการขยายผลฯ นี้สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์และเป้าหมายของกองทุนฯ และ พม. ซึ่งมีความตั้งใจที่จะให้สถานประกอบการที่มีลูกจ้างหรือพนักงานมากกว่า 100 คน จ้างคนพิการเข้าไปทำงานตามมาตรา 33 มากขึ้น และได้คนพิการที่ทำงานได้จริงและมีศักยภาพ ลดช่องว่างของสังคม โดยเฉพาะคนพิการที่ไม่มีงานทำ จากที่สถานประกอบการไม่กล้าจ้างเพราะกลัวว่าคนพิการจะทำงานไม่ได้ ทางปลัดกระทรวง พม. ได้เสนอแนะให้ มจธ.และเครือข่ายเขียนข้อเสนอโครงการไปขอทุนสนับสนุนจากกองทุนฯ จึงเกิดเป็นโครงการนำร่องนี้ขึ้น ดร.อรกัญญาณี เลี้ยงอิสสระ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต มจธ. และในฐานะหัวหน้าโครงการฯ กล่าวเสริมว่า โดยบทบาทของ มจธ. ในฐานะมหาวิทยาลัยเจ้าภาพหรือแม่ข่าย จะทำหน้าที่ train the trainer และ facilitator (อาจารย์เกื้อหนุน) รวมทั้งช่วยแนะนำวิธีการ กรอบการทำงาน ตลอดจนสร้างความเข้าใจร่วมกัน และแนวทางหรือสิ่งที่จะต้องทำในโครงการฯ ที่จะช่วยให้มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง สามารถดำเนินการได้ต่อเนื่องลุล่วงตามวัตถุประสงค์ของโครงการ “โครงการนี้จะทำให้เกิดการฝึกอบรม-ฝึกอาชีพตามความต้องการในแต่ละพื้นที่ (demand-driven) ให้คนพิการมีสมรรถนะทำงานได้จริงตามที่สถานประกอบการต้องการ โดยในอนาคตอาจจะใช้มาตรา 35 ในการดำเนินการได้อย่างยั่งยืน สิ่งสำคัญคือการที่สถาบันอุดมศึกษาทำงานร่วมกับหน่วยงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องเพื่อลดช่องว่างระหว่างคนพิการ สถานประกอบ และสังคม จนเกิดเป็นระบบนิเวศในการทำงานที่ยั่งยืน เพราะสุดท้ายแล้วกระบวนการไม่ใช่แค่ฝึกอาชีพ แต่ต้องหาสถานประกอบการมารับคนกลุ่มนี้ไปทำงาน หรือการมีรายได้จากอาชีพอิสระ” สำหรับกิจกรรมที่จะเกิดขึ้นภายในโครงการฯ คือ การนำสิ่งที่ มจธ.ได้วางแผนและเคยดำเนินการประสบความสำเร็จมาแล้วตลอดระยะเวลา 10 ปีที่ผ่านมามาเป็นแม่แบบ โดยกระบวนการหรือขั้นตอนการทำงาน แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ประกอบด้วย 1.หารือร่วมกับสถานประกอบการที่สนับสนุนโครงการ เพื่อหาอาชีพและพัฒนาหลักสูตรการฝึกที่คนพิการสามารถทำได้ มีความต้องการจ้างงาน หรือ เป็นอาชีพใหม่ที่มีดำเนินการฝึกอบรมให้คนพิการไม่มากนัก 2.รับสมัครและคัดเลือกคนพิการเข้าร่วมโครงการ ตามคุณสมบัติของแต่ละหลักสูตร รวมทั้งพิจารณาถึงความต้องการและมีแรงจูงใจที่ต้องการทำงานหรือประกอบอาชีพ 3.กระบวนการฝึกอบรม-ฝึกงานฯ รวม 6 เดือนโดยครอบคลุมทักษะทั้ง 3 ด้าน ได้แก่ ทักษะด้านอาชีพ ทักษะด้านการสนับสนุนการทำงานและการใช้ชีวิต และทักษะการฝึกประสบการณ์ทำงานตรง 4.สนับสนุนการจ้างงานคนพิการร่วมกับภาคี ทั้งสถานประกอบการและหน่วยงานภาครัฐในการสนับสนุนการจ้างงานคนพิการ 5.ระบบพี่เลี้ยงติดตามและให้คำแนะนำ และ6.การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ผลกระทบ และผลตอบแทนจากการลงทุน โดยจะเริ่มเปิดรับสมัครคนพิการเข้าร่วมโครงการฯ ระหว่างวันที่ 9 – 31 พ.ค. 67 มหาวิทยาลัยเครือข่ายทั้ง 5 แห่ง จะเริ่มดำเนินการอบรมและฝึกอาชีพให้กับคนพิการระหว่างเดือน มิ.ย.-ก.ย. 67 และช่วยส่งเสริมการหางานและติดตามผลโครงการฯ ตั้งแต่เดือน ต.ค. 2567 เป็นต้นไป “คาดหวังว่าโครงการขยายผลอุดมศึกษาฯ นำร่องนี้ จะทำให้มีคนพิการที่ผ่านการฝึกอบรม เข้าสู่สถานประกอบการได้มากขึ้น หรือคนพิการที่ไม่สะดวกในการไปทำงานกับสถานประกอบการ สามารถทำอาชีพอิสระที่บ้านได้ ไม่ว่าจะเป็น การออกแบบสิ่งพิมพ์ดิจิทัล หรืองานฝีมือ และหากรุ่นที่ 1 ผลลัพธ์ออกมาดี เชื่อว่าจะได้รับการสนับสนุนขยายผลออกเพิ่มขึ้น ก็ถือว่าประสบความสำเร็จแล้ว และหากทำอย่างต่อเนื่อง จำนวนคนพิการที่มีงานทำ มีอาชีพเลี้ยงตัวเองและครอบครัวก็จะยิ่งเพิ่มมากขึ้น โครงการฯ นี้ก็จะช่วยสังคมไทยได้มาก ทั้งเรื่องของคุณภาพชีวิตคนพิการ ลดช่องว่าง และลดภาระของภาครัฐ ขณะเดียวกันคนพิการเองจะเกิดความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง และสามารถดำรงชีพได้อย่างภาคภูมิ ที่สำคัญยังตอบโจทย์ SDGs ของประเทศอีกด้วย ซึ่งทางมจธ.เองก็ทำเรื่องดังกล่าวมายาวนานเช่นกัน” รศ. ดร.สุวิทย์ แซ่เตีย อธิการบดี มจธ. กล่าวปิดท้าย สำหรับโครงการฝึกอบรม-ฝึกงานคนพิการ มจธ. เริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 โดยนำกลไกตาม พ.ร.บ.ส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพคนพิการ มาตรา 35 มาช่วยในการขับเคลื่อน เพื่อฝึกอบรม-ฝึกงาน เตรียมความพร้อมให้คนพิการเข้าสู่การทำงานในสถานประกอบการและมีอาชีพเลี้ยงตัวเองได้ มีหลักสูตรฝึกอบรม 4 หลักสูตร คือ หลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน หลักสูตรผู้ทดสอบทางประสาทสัมผัสสำหรับคนพิการทางสายตา หลักสูตรการผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ดิจิทัล และหลักสูตรการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตถกรรมท้องถิ่น ซึ่งจากการดำเนินงานมากว่า 10 ปี จนถึงปัจจุบัน มีผู้สำเร็จจากการอบรมตามโครงการทั้งสิ้น 10 รุ่น กว่า 398 คนจากทุกภูมิภาคทั่วประเทศ และร้อยละ 50 ของผู้สำเร็จการศึกษาจากหลักสูตรเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน ได้รับการจ้างงานเข้าทำงานในสถานประกอบการจริง
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ