โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn EZ WebmasterNovember 5, 2024 จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ… มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN EZ Webmaster Related Posts ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE Post navigation PREVIOUS Previous post: ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster November 5, 2024 EZ Webmaster November 5, 2024 โลกเปลี่ยนต้องปรับตัวให้ทัน ก้าวสู่ยุคการเรียนรู้แบบ Learn to Earn จากการที่โลกกำลังถูกคุกคามด้วยดิจิทัลและ AI ในปัจจุบัน นอกจากผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นแล้ว ยังก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายบริบท เป็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว มูลนิธิเอสซีจี องค์กรสาธารณกุศลต้นแบบของการพัฒนาคน เชื่อว่าการเรียนรู้ที่จะปรับตัวหรือพัฒนาตนเอง เป็นทางเลือกเดียวที่จะทำให้อยู่รอดได้ในสถานการณ์ที่ผันผวนนี้ ซึ่งปัจจุบันการเรียนรู้มีอยู่มากกว่าแค่ในห้องเรียน เป็น Lifelong Learning หรือ “การเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ” สามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกยุค ทุกสมัย มูลนิธิเอสซีจี ก็เป็นอีกหนึ่งองค์กรที่อยากเห็นทุกคนมี mindset เหล่านี้ จึงสนับสนุนทุนการศึกษาครอบคลุมทั้งในระบบและนอกระบบ รวมทั้งการขยายแนวคิด “LEARN to EARN” เรียนรู้เพื่ออยู่รอด เน้นการเรียนรู้เพื่อมี งานทำ พัฒนาทั้งทักษะวิชาชีพ (Hard skills) และทักษะชีวิต (Soft skills) เพราะเชื่อว่าทุกคนมีคุณค่าและ ศักยภาพในตัวเอง สามารถเผชิญโลกที่เปลี่ยนแปลง โดยใช้การเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ดีมานด์ซัพพลายที่ไม่ลงตัว โลกการทำงานที่ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป แม้ว่าสถาบันการศึกษาจะพยายามออกแบบหลักสูตรการเรียนที่คาดว่าจะตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน แต่คุณภาพของผู้ที่จบการศึกษามานั้น กลับยังไม่ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงาน ทำให้ต้องไปทำงานในตำแหน่งงานที่ต่ำกว่าวุฒิที่จบมา หรือทำงานไม่ตรงสาขาที่เรียนจบมา และที่ร้ายแรงที่สุดคือไม่สามารถหางานทำได้ เกิดเป็นปัญหาการว่างงานในที่สุด ซึ่งปัญหานี้ได้ส่งผลกระทบในวงกว้าง มูลนิธิเอสซีจีจึงร่วมกับสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ (Thailand Development Research Institute : TDRI) ได้จัดทำแนวโน้มความต้องการแรงงานในอุตสาหกรรมต่าง ๆ และทักษะอาชีพที่แรงงานไทยควรต้องมี พบว่าแรงงานไทยมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นมากในช่วง 50 ปีที่ผ่านมา แต่โครงสร้างอาชีพแรงงานไทยกลับไม่ได้ยกระดับขึ้นตามระดับการศึกษา โดยมีสาเหตุมาจาก ประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จในการยกระดับอุตสาหกรรมไทยให้เป็นอุตสาหกรรมที่ใช้ทักษะความรู้และมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น ระบบการศึกษาของไทย ประสบความสำเร็จในด้านปริมาณ แต่ไม่ประสบความสำเร็จเชิงคุณภาพ วุฒิการศึกษาที่ได้รับไม่ได้สะท้อนถึงทักษะความรู้ที่ผู้เรียนมี เกิดความไม่เข้ากันระหว่างความต้องการแรงงานในตลาด กับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงาน ทั้งการไม่เข้ากันในแนวตั้ง (Vertical Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิการศึกษาสูงหรือต่ำกว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ และไม่เข้ากันในแนวนอน (Horizontal Mismatch) คือแรงงานมีวุฒิตรงกับที่ตลาดแรงงานต้องการแต่ไม่ได้จบมาในสาขาหรือมีทักษะตรงตามที่ตลาดแรงงานต้องการ ความไม่สอดคล้องกันของความต้องการแรงงานในตลาดกับระบบการศึกษาที่ผลิตแรงงานนี้ (Mismatch) ถือเป็นปัญหาใหญ่และค่อนข้างรุนแรง ใน 2 ประเด็นดังนี้ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาสูง-ต่ำ กว่าที่ตลาดแรงงานต้องการ ○ แรงงานมีวุฒิการศึกษาตรง แต่กลับจบไม่ตรงสาขาที่ตลาดแรงงานต้องการ โดยเฉพาะในระดับอาชีวศึกษาที่มุ่งเน้นผลิตแรงงานเพื่อป้อนตลาด แต่กลับพบว่าผู้จบระดับ ปวช. อายุ 21-40 ปี ได้งานทำที่ไม่ตรงสายที่เรียนมาเกือบ 90% ผู้จบ ปวส. อายุ 21-30 ปี ทำงานไม่ตรงสาย 84% ประเภทอุตสาหกรรมกับความต้องการแรงงาน ข้อมูลจากการสำรวจตลาดแรงงานไทย โดยทีดีอาร์ไอ ในปี 2024 พบว่า ตลาดแรงงานไทยมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งในส่วนโครงสร้างการจ้างงาน และ ทักษะของตลาดแรงงานไทยที่ยังคงมีลักษณะเป็นแรงงานทักษะต่ำ หากจัดกลุ่มการลงทุนตามประเภทกิจกรรมหมวดใหญ่ ตามข้อมูลการอนุมัติบัตรส่งเสริมการลงทุน ระหว่างปี พ.ศ. 2561 ถึงปี พ.ศ. 2566 จะพบว่า ในแง่เงินลงทุน อุตสาหกรรมเคมีและปิโตรเคมีมีการลงทุนมากที่สุด คือมากถึง446,948 ล้านบาท ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมสาธารณูปโภค ตามลำดับ แต่หากพิจารณาตามจำนวนการจ้างงานแล้ว พบว่าอุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีการจ้างงานมากที่สุด ตามมาด้วยอุตสาหกรรมเครื่องจักรและยานยนต์ และอุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ ตามลำดับ ยุคเรียนรู้เพื่ออยู่รอดแบบ Learn to Earn นอกจากการเรียนรู้ที่จะช่วยพัฒนาทักษะให้อยู่รอดได้แล้วนั้น ศักยภาพของทักษะที่มีในแต่ละคนก็เป็นอีกหนึ่งความสำคัญที่องค์กรต่างๆ ใช้เป็นตัวพิจารณาหลักในการคัดเลือกคนเข้าทำงาน ดังนั้น การมีทั้ง Hard Skills และ Soft Skills จะทำให้บุคคลนั้นมีความสามารถในการทำงานที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ทักษะวิชาชีพ หรือ Hard Skills เป็นทักษะที่มีระยะเวลาการใช้งาน ความรู้ความสามารถที่มีอยู่นั้นอาจจะไม่สามารถนำมาใช้งานได้เมื่อเวลาผ่านไป เพราะเป็นความรู้ที่เก่า ไม่ทันสมัย ทำให้ต้องมีการเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ซึ่งทักษะวิชาชีพนี้มีรูปแบบตายตัว สามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ ในขณะที่ทักษะชีวิต หรือ Soft Skills เป็นทักษะที่ใช้ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น จะมีประโยชน์ในการปรับตัวให้อยู่รอดได้ในปัจจุบัน รวมถึงการนำไปใช้รับมือกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ทักษะชีวิตนี้เป็นทักษะที่จะติดตัวไปตลอดชีวิต นอกจากนี้มูลนิธิเอสซีจี ได้ร่วมกับบริษัท ฟาร์อีสท์ เฟมไลน์ ดีดีบี จำกัด (มหาชน) ทำการสำรวจเพิ่มเติมในกลุ่ม Newgen (GEN Y & Z) ช่วงอายุ 15-34 ปี กว่า 500 คน และกลุ่ม Opinion Leader พบว่าทักษะที่ส่วนใหญ่มองว่า เป็นทักษะที่สำคัญและจำเป็น เป็นทักษะ Soft Skills โดยมี Skill set ที่สำคัญดังนี้ ทักษะด้านการสื่อสารและภาษา (Communication & Language Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Conciseness, active listening, assertiveness, verbal communication, non-verbal communication, story telling และ adaptability ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน (Collaboration Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Active listening, feedback, inclusivity, verbal communication และ written communication ทักษะด้านการคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking Skills) ได้แก่ทักษะด้าน Problem solving, creative writing, open-mindedness, analysis และ active listening ทิศทางการเรียนรู้ในอนาคตควรเป็นแบบไหน จากวงเสวนา Opinion Panel ที่มูลนิธิเอสซีจีจัดขึ้น โดยมีกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงาน องค์กร ที่เกี่ยวข้อง ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน กว่า 20 คน ทุกคนมีความเห็นตรงกันว่า ระบบการศึกษาควรปรับตัวเป็นการเรียนรู้ที่ไม่รู้จบ และต้องสามารถเกิดขึ้นได้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ หรือ Hard Skills และทักษะชีวิต หรือ Soft Skills โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นทั้งเยาวชนในระบบ นอกระบบ รวมไปถึงผู้ที่ก้าวพลาด เพื่อให้ทุกคนอยู่รอดในสังคมต่อไปได้อย่างยั่งยืน ซึ่งการเรียนรู้เพื่ออยู่รอดจะดำเนินการด้วย 2 หลักการสำคัญคือ ความยั่งยืนและยืดหยุ่น ยั่งยืนคือเรียนรู้แล้วเอาตัวรอดได้ และยืดหยุ่นคือปรับตัวไปตามสถานการณ์ สถาบันการศึกษา โดยเฉพาะโรงเรียนขยายโอกาส ควรทำหน้าที่ในการสร้างแรงบันดาลใจให้กับเยาวชน ด้วยการกระตุ้นให้รู้จักตัวตนให้เร็วที่สุด เน้นให้เรียนรู้ในสิ่งที่อยากเรียนและมีความสุขในการเรียน และควรจัดทำระบบการเทียบโอนหรือ Credit Bank ให้เกิดเป็นรูปธรรมไปในเวลาเดียวกัน เพราะต่อไปเมื่อตลาดแรงงานไม่ได้ต้องการคนจบวุฒิการศึกษาสูง จึงไม่มีความจำเป็นต้องเสียเวลาเรียนหลายปีเพื่อให้ได้ปริญญา คนรุ่นใหม่จะเปลี่ยนมาเรียนหลักสูตรระยะสั้น เพื่อให้มีงานทำ มีรายได้เลี้ยงตัวเอง และกลับมาพัฒนาทักษะความรู้ Upskills-Reskills เมื่อมีโอกาส พร้อมทั้งเก็บสะสมเครดิตการเรียนรู้เพื่อนำไปใช้คำนวณอัตราค่าจ้างต่อไป เพราะคนที่เรียนมาน้อยแต่ประสบการณ์สูง ควรได้ค่าตอบแทนเทียบเท่าหรือมากกว่าคนที่เรียนจบมาสูงแต่ไม่มีประสบการณ์ นอกจากนี้ จากการศึกษายังพบว่ากลุ่ม Gen Z ถึง 50% ไม่แน่ใจว่าตัวเองชอบอาชีพ / ศึกษาสาขาใด และมากกว่า 37% ที่ยังขาดคนให้คำปรึกษาหรือให้คำแนะนำในการศึกษาต่อ การไม่รู้จักตัวตนของคนรุ่นใหม่ ไม่สามารถบอกได้ว่าตัวเองถนัดอะไร ชอบอะไร รักที่จะทำอะไร ทำให้ไม่สามารถวางแผนชีวิตในอนาคตได้ สถาบันครอบครัวควรส่งเสริมหรือกระตุ้นให้เด็กและเยาวชนค้นหาตัวตนให้พบ เพื่อจะดึงความชอบมาพัฒนาและเพิ่มทักษะให้พร้อมเรียนรู้เป็นอาชีพต่อไป โดยเฉพาะกับคนรุ่นใหม่ในกลุ่ม Medium Skill และ Low Skill ที่จะขาดคนให้คำแนะนำที่ถูกต้อง ซึ่งหากจัดการทั้งระบบ เด็กและเยาวชน-รู้จักตัวตนได้เร็ว เรียนรู้ในสิ่งที่เป็นตัวเอง พัฒนาทักษะสม่ำเสมอ เพื่อให้อยู่รอด มีอาชีพ มีงานทำ อยู่อย่างมีความสุข และเป็นการรอดแบบมีสัมมาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม ผู้สนใจสามารถติดตามข้อมูลข่าวสารและความคืบหน้าของโครงการต่างๆ ของมูลนิธิเอสซีจี ได้ที่ www.scgfoundation.org เฟซบุ๊ก LEARNtoEARN และ TIKTOK: LEARNtoEARN
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล