โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน…
เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส EZ Webmaster Related Posts มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ” Post navigation PREVIOUS Previous post: ผลงานวิทยานิพนธ์นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์ฯ มจธ. คว้ารางวัลชนะเลิศเวทีโลกNEXT Next post: คนสวยใจบุญ! คริส หอวัง ร่วมเป็นจิตอาสานำอาหารมาแจก “ครัวรังสิต” สู้ภัยโควิด-19 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster May 18, 2020 EZ Webmaster May 18, 2020 รู้เท่าทันวัคซีนไวรัส… กรณีโควิด 19 โดย ศาสตราจารย์ ดร.ธีระศักดิ์ พัชรวิภาส คณะเทคนิคการแพทย์ ม.รังสิต การระบาดของไวรัสโควิด 19 ทำให้เกิดความตื่นตระหนักที่จะหาวิธีป้องกันตัวเอง โดยเฉพาะการตั้งความหวังกับวัคซีน… เพื่อสร้างความเข้าใจและความเท่าทันทางวิชาการจึงขอนำข้อมูลความรู้ทางวิชาการด้านภูมิคุ้มกันและไวรัสวิทยามาเล่าสู่กันฟังดังนี้ การติดต่อเข้าเซลล์ของไวรัสโควิด 19 เช่นเดียวกับเชื้อไวรัสอื่นๆ ไวรัสโควิด 19 เป็นสิ่งเสมือนมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่ในเซลล์เจ้าบ้าน (intracellular agent) จึงจะสามารถแบ่งตัวเพิ่มจำนวนและก่อโรค การที่ไวรัสใดๆจะเข้าไปในเซลล์เจ้าบ้านที่เหมาะสม (เซลล์เป้าหมาย) เซลล์นั้นๆ ต้องมีโมเลกุลตัวรับ (viral receptor) ที่เหมาะต่อการทำให้ไวรัสเข้าไปจับสำหรับแทรกเข้าไปในเซลล์เพื่อเพิ่มจำนวนและก่อโรค กรณีไวรัสโควิด 19 ใช้ ACE (angiotensin converting enzyme) เป็นโมเลกุลตัวรับสำหรับจับเพื่อเข้าไปในเซลล์เป้าหมายซึ่งส่วนใหญ่คือเซลล์ในระบบทางเดินหายใจ อย่างไรก็ตามไวรัสบางชนิดสามารถจับโมเลกุลตัวรับมากกว่าหนึ่งชนิด จึงยังไม่ทราบว่าไวรัสไวรัสโควิดใช้โมเลกุลตัวรับอื่นๆ ได้ด้วยหรือไม่ การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัส ก่อนที่จะกล่าวถึงวัคซีนไวรัส… ขอสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายพอสังเขปเป็นเบื้องต้นก่อน… ระบบภูมิคุ้มกันประกอบด้วยการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวหลายชนิด เซลล์เม็ดเลือดขาวที่มีความสามารถที่สุดในการกำจัดเซลล์ติดเชื้อไวรัสคือ cytotoxic T cell (Tc) เซลล์ที่สำคัญอย่างมากอีกชนิดคือ helper T cell (Th) ที่ทำหน้าที่เสมือนเป็นผู้จัดการในระบบภูมิคุ้มกัน นอกจากมีความเกี่ยวข้องกับการทำงานของ Tc แล้ว Th ยังมีบทบาทในการทำงานของเซลล์เม็ดเลือดขาวอีกชนิดหนึ่งคือ B cell เพื่อสร้างแอนติบอดี (antibody, Ab) สำหรับจับเชื้อไวรัสขณะที่อยู่นอกเซลล์… ที่สำคัญกว่านั้น Th ทำให้ Tc และ B cell ปรับเปลี่ยนเป็น memory cells ซึ่งมีความสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วกว่าปกติและเป็นเหตุผลที่วัคซีนไวรัสที่มีประสิทธิภาพต้องกระตุ้นให้เกิด memory cells จึงจะทำให้เรามีภูมิคุ้มกันคอยป้องกันการติดเชื้อไวรัสได้ ปกติเมื่อเชื้อไวรัสเข้าร่างกาย (แม้ยังไม่สามารถเข้าเซลล์เป้าหมาย) จะถูกเซลล์เม็ดเลือด M (macrophage) และ D (dendritic cell) เข้าจับกิน ก่อนที่จะย่อยเป็นเปปไทด์สายสั้นๆประกอบด้วยกรดอมิโน 8-15 ตัว เพื่อไปกระตุ้น Th และ Tc ให้เตรียมพร้อมทำงาน…แต่ทว่านอกจากเปปไทด์สายสั้นๆนี้แล้ว การกระตุ้น Tc และ Th ยังต้องใช้โมเลกุล MHC (major histocompatibility complex) ร่วมด้วย… MHC….โมเลกุลปิดทองหลังพระ MHC เป็นโมเลกุลที่อยู่ในเซลล์ของเราที่มักรู้จักกันดีในวงการวิทยาศาสตร์การแพทย์ว่าเกี่ยวข้องกับการปลูกถ่ายอวัยวะแต่ภายหลังพบว่าเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคภูมิคุ้มกันต่อตัวเอง ภูมิแพ้ และโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อด้วย… MHC มีความจำเป็นต่อการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันด้วยการรวมตัวกับเปปไทด์สายสั้นๆที่ได้จากการย่อยอนุภาคไวรัสของเซลล์ M/D ทำให้ได้โมเลกุลเชิงซ้อนเรียกว่า pMHC (MHC-peptide complex) ซึ่งเป็นกุญแจสำคัญที่จะไปกระตุ้น Tc และ Th ให้ตื่นตัวและทำงานทางภูมิคุ้มกันได้ ประเด็นสำคัญคือ pMHC มีอย่างหลากหลายชนิดและ pMHC ของ Tc และ Th ก็เป็นคนละแบบกัน เนื่องจาก Tc และ Th รวมทั้ง B cell ในร่างกายไม่ได้มีเพียงชนิดเดียวหรือโคลนเดียว แต่มีไม่น้อยกว่าพันๆล้านโคลนและแต่ละโคลนก็มีความจำเพาะที่จะรับรู้ pMHC ชนิดเดียว ซึ่งประกอบด้วย MHC ต่างชนิด (MHC allele) ที่จับกับเปปไทด์สายต่างๆของเชื้อไวรัสที่เหมาะสมเท่านั้น ตารางที่ 1 จำนวน MHC alleles ในแต่ละชุดยีน MHC ของแต่ละกลุ่ม (ตามข้อมูลขององค์การอนามัยโลกถึงปี ค.ศ. 2018) MHC เป็นโมเลกุลที่สร้างมาจากชุดยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่หกแบ่งเป็นสองกลุ่มเรียกว่า MHC กลุ่มหนึ่งและกลุ่มสองซึ่งมีบทบาทต่อ Tc และ Th ตามลำดับ MHC ทั้งสองกลุ่มมีตำแหน่งยีน (ที่สำคัญ) อยู่สามตำแหน่ง กลุ่มหนึ่งมีตำแหน่งยีน HLA-A, HLA-B และ HLA-C ขณะที่กลุ่มสองมีตำแหน่งยีน HLA-DP, HLA-DQ และ HLA-DR…ในแต่ละตำแหน่งยีนมีลักษณะของยีน (MHC allele) ที่หลากหลายเป็นพันๆชนิด (ดูตารางที่ 1) ขณะที่ MHC ในแต่ละกลุ่มของคนเราแต่ละคนมีเพียงสามถึงหกชนิดเท่านั้น เนื่องจากโครโมโซมของคนเราอยู่เป็นคู่ๆ (สองแท่ง) ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากพ่อกับแม่ท่านละหนึ่งแท่ง… ตัวอย่างเช่นหากตำแหน่งยีน HLA-A ของเรามี allele เหมือนกันทั้งสองแท่ง เราก็มี HLA-A allele เพียงชนิดเดียว (homozygous) แต่ถ้าแตกต่างกันเราก็มี HLA-A allele สองชนิด (heterozygous) ดังนั้นหากเรามี MHC allele เป็น homozygous ทุกตำแหน่งเราก็มี MHC allele เพียง 3 ชนิด แต่ถ้าเป็น heterozygous ทุกตำแหน่ง เราก็มี MHC allele หกชนิด ดังนั้นการที่เราแต่ละคนมี MHC allele ไม่เกิน 6 ชนิด จากที่มีเป็นหมื่นเป็นพันชนิด จึงทำให้เซลล์ M/D ของคนบางคนไม่สามารถสร้าง pMHC ได้ครบเพื่อกระตุ้น Tc และ Th โคลนที่เหมาะสม…ดังนั้นจึงทำให้การตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อการติดเชื้อไวรัสมีความแตกต่างกันไปกันไปในแต่ละคน ดังแสดงในผังรูปที่ 1 บทเรียนจากวัคซีนไวรัสในอดีต การผลิตวัคซีนไวรัสต่างๆ ในปัจจุบันเป็นการเลือกใช้เฉพาะบางส่วนของเชื้อไวรัส (subunit vaccine) ที่เชื่อว่าสามารถกระตุ้นให้ร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันแบบป้องกัน (protective immunity) ไวรัสชนิดนั้นๆขึ้นมาได้ แต่จากงานวิจัยที่ศึกษาพบว่าวัคซีนไวรัสชนิดต่างๆที่อยู่ในตลาด… หลายชนิดกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้เพียง 40-60 % ของผู้ได้รับวัคซีนแม้แต่วัคซีนที่ให้ผลดีที่สุดอย่างวัคซีนไวรัสตับอักเสบบีก็ได้ผลเพียง 60-85% แล้วแต่ตัวอย่างประชากรที่ศึกษา… จากเหตุผลที่กล่าวเกี่ยวกับความหลากหลายของ MHC allele ชี้ให้เห็นว่าวัคซีนไวรัสที่ได้ผลในสัตว์ทดลองไม่จำเป็นว่าจะได้ผลในคนและวัคซีนที่ได้ผลในกลุ่มประชากรหนึ่งก็ไม่จำเป็นว่าจะได้ผลกับประชากรอีกกลุ่มหนึ่งเนื่องจาก MHC allele ที่แตกต่างกันในแต่ละคนและสัตว์แต่ละชนิด วัคซีนที่ได้ผลในอดีตที่ชัดเจนมากที่สุดคือวัคซีนฝีดาษ (Smallpox) ที่ ดร.เอ็ดเวิรด์ เจนเนอร์ ใช้ไวรัสฝีดาษวัว (Cowpox) ซึ่งยังมีชีวิตและมีองค์ประกอบอนุภาคครบสมบูรณ์มาใช้กระตุ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันจนประสบความสำเร็จ อย่างไรก็ตามการใช้ฝีดาษวัวก็ทำให้เกิดปัญหากับบางคน (ที่อาจมีโมเลกุลตัวรับไวรัสฝีดาษวัว) ทำให้มีการเปลี่ยนแนวคิดเลือกใช้ subunit vaccine แทน ทางเลือกที่อาจใช้เป็นแนวทางสายกลางในการผลิตวัคซีนไวรัสให้ได้ประสิทธิผลก็คือการใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัสให้ครบถ้วนมากที่สุด การใช้ subunit vaccine จากส่วนต่างๆของเชื้อไวรัส (multiple subunit vaccine) เพื่อให้ครอบคลุมองค์ประกอบครบอนุภาคของเชื้อไวรัสอาจช่วยเพิ่มโอกาสการสร้าง pMHC ในคนเราที่มี MHC allele แตกต่างกันและอาจทำให้เกิดภูมิคุ้มกันได้ถ้วนทั่วมากกว่าได้…. ข้อเสนอ… หากต้องใช้วัคซีนโควิด 19 หากมีการนำวัคซีนไวรัสโควิด 19 มาใช้… แนวทางที่ผู้รับวัคซีนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องควรพิจารณาและรณรงค์ก็คือบริษัทผู้ผลิตวัคซีนต้องผลิตชุดตรวจภูมิคุ้มกันขึ้นมาร่วมด้วย โดยต้องจัดเป็นโปรแกรมสำเร็จที่ให้ผู้รับวัคซีนไวรัส มีสิทธิได้รับการตรวจการสร้างภูมิคุ้มกันด้วยหลังจากได้รับวัคซีนครบในช่วงเวลาที่กำหนด หากผู้รับวัคซีนไม่สร้างภูมิคุ้มกันก็ไม่ควรต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ (เป็นอย่างน้อยที่สุด) ทั้งนี้ นอกจากการป้องกันด้วยวัคซีนแล้ว… กรณีฟ้าทะลายโจรที่พบว่าสามารถฆ่าเชื้อไวรัสได้โดยตรง หากสามารถปรับเป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบครีมแทนการใช้แอลกอฮอลซึ่งระเหยอย่างรวดเร็วก็น่าจะเป็นทางเลือกที่ควรศึกษาหากตัวยามีความเสถียรอยู่ได้นานและปลอดภัย รวมทั้งในรูปพ่นฉีดตามวัสดุต่างๆและหน้ากากก็น่าจะช่วยทำให้เรามีโอกาสกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับรูปแบบที่ควรเป็นตามวิถีชีวิตที่ควรเป็นของมนุษย์ซึ่งเป็นสัตว์สังคมมากกว่าเพียงหาทางป้องกันจากวัคซีนไวรัสที่อาจไม่ใช่คำตอบที่เรารอคอย (สำหรับทุกๆ คน) รูปที่ 1 ความสัมพันธ์ระหว่างโมเลกุล MHC กับบทบาทการทำงานชองเซลล์เม็ดเลือดขาว Tc, Th และ B cell ที่เกี่ยวข้องในผู้ที่ได้รับเชื้อไวรัส
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล
พลาดไม่ได้สนใจรีบสมัครรับจำกัด 50 คน สสวท. อบรมครูประถมปลาย “กิจกรรมการเรียนรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ”