New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์…
วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์…
EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ Post navigation PREVIOUS Previous post: 7 อาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิ EP. 5 : สาขาอาชีพอาหารและเกษตรNEXT Next post: 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.7 : สาขาอาชีพแม่พิมพ์ Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search
“กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
EZ Webmaster January 15, 2021 EZ Webmaster January 15, 2021 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ EP.6 : สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน สวัสดีค่ะทุกคน พี่ ๆ ทีมงานเอ็ดดูโซนจะพาทุกคนมาทำความรู้จักกับสาขาวิชาทั้ง 7 ซึ่งเป็นสาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2562 – พ.ศ. 2565 ที่ทาง ครม. มีมติให้เป็น 7 สาขาที่ต้องการพัฒนากำลังคนและเป็นสาขาอาชีพที่จำเป็นเร่งด่วนต่อการพัฒนาประเทศ ได้แก่ 1.สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน 2.สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 3.สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ 4.สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ 5.สาขาอาชีพอาหารและเกษตร 6.สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน และ 7.สาขาอาชีพแม่พิมพ์ และเราก็ได้แนะนำไป 5 สาขากันแล้ว ในวันนี้ก็เดินทางมาถึง EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งเป็นอีกอาชีพหนึ่งที่มีความโด่งดังมากและเขาว่ากันว่า เป็นอาชีพที่เงินเดือนเยอะมาก ๆ พูดแบบนี้พี่ชักจะอยากรู้แล้วล่ะค่ะว่าสาขานี้เรียนยังไง ต้องทำอะไรบ้าง แล้วจบไปจะทำอะไรนะ แล้วน้อง ๆ ล่ะคะอยากรู้กันไหมเอ่ย ถ้าอยากรู้ก็ตามพี่ไปดูพร้อม ๆ กันเลยค่า สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงงานทดแทน การใช้พลังงานของมนุษย์ในปัจจุบันนี้มีมากขึ้นทุกวัน ทั้งใช้ในการดำเนินชีวิต ในการประกอบอาชีพ และอื่น ๆ อีกมากมาย เพราะด้วยความต้องการที่จะสร้างความสะดวกสบายให้กับตัวเอง ซึ่งเชื้อเพลิงหรือพลังงานที่ใช้กันส่วนมากเป็นพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป ด้วยเหตุนี้จึงจำเป็นที่จะต้องมีการคิดค้นพลังงานทดแทนขึ้นเพื่อให้สามารถเอามาใช้แทนพลังงานจริง ๆ ได้ และทำให้พลังงานยังคงไม่หมดไปจากโลกใบนี้ ซึ่งสาขาวิชานี้เป็นสายอาชีพที่ขาดตลาด และตลาดแรงงานมีความต้องการเป็นอย่างมาก เมื่อเรียนจบไปไม่ตกงาน มีงานทำแน่นอน ว่าแต่สาขาวิชาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ และพลังงานทดแทนเรียนเกี่ยวกับอะไรบ้าง จบแล้วทำงานด้านไหนดี มีมหาวิทยาลัยที่ไหนเปิดบ้าง อย่ามัวรอช้า ไปดูกันเลย สาขาปิโตรเลียม สาขาปิโตรเลียมเรียนอะไรบ้าง ? อย่างที่เข้าใจกันดีว่าปิโตรเลียมจะเป็นงานที่เกี่ยวกับการขุดเจาะน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งสาขานี้ก็จะศึกษาเกี่ยวกับการสำรวจการเจาะ การสกัดและการผลิตน้ำมัน จากแหล่งใต้ผิวดิน ซึ่งจะเรียนรู้ทุกขั้นตอนการผลิตก็ว่าได้ โดยมีทั้งการออกแบบ ศึกษา และวางแผนการผลิตน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งในการศึกษาสาขาวิชาปิโตรเลียมจะศึกษาเน้นไปทางฟิสิกส์ เพราะเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับหลักการ ความสัมพันธ์กับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ เพื่อมาประเมินการผลิตน้ำมัน และยังมีคณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ การเขียนโปรแกรม การวางแผนวงจรไฟฟ้า การบริหารและการจัดการทางเคมี อีกทั้งยังมีการออกแบบเพื่อสำรวจและผลิตปิโตรเลียม จบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรรังวัด – วิศวกรเหมืองแร่ – วิศวกรเคมี – วิศวกรความปลอดภัย – นักเดินเรือ – หน่วยงานราชการ ได้แก่ กองเชื้อเพลิง กรมทรัพยากรธรณี กรมพลังงานทหาร อาจารย์มหาวิทยาลัย – บริษัทน้ำมัน ได้แก่ ปตท. สำรวจและผลิต Thai shell, Unocal, chevron – บริษัทเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมน้ำมัน ได้แก่ บริษัทจำพวก service companies ได้แก่ schlumberger, halliburt on, baker hugh, BJ service, soientific Drilling และ อื่น ๆ มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnologyม.สุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้า สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าเป็นสาที่ศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้า การดูแลบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าช่วยให้ยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพในการผลิตไฟฟ้า เพื่อให้เกิดผลผลิตด้านพลังงานไฟฟ้าให้ได้มากที่สุด สาขานี้จึงเรียนตั้งแต่ตรวจสอบและควบคุมระบบผลิตไฟฟ้า ตรวจเช็คความปกติของเครื่องจักร อุปกรณ์ ตรวจสอบและเก็บข้อมูลการผลิตและใช้พลังงานไฟฟ้า จัดทำแผนบำรุงเชิงป้องกัน และจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนและซ่อมบำรุงเครื่องอุปกรณ์ เพื่อให้ระบบผลิตไฟฟ้ามีความสมบูรณ์และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความปลอดภัยต่อผู้ใช้นั่นเอง สาขางานควบคุมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? -ผู้ปฏิบัติงานในส่วนการควบคุมกระบวนการผลิตไฟฟ้า “มหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสาขางานปิโตรเลียม” – วิศวกรรมปิโตรเลียม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – Engineering Program in Geotechnology มหาวิทยาลัยสุรนารี – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร – สาขาปิโตรเคมี และวัสดุพอลิเมอร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีปิโตรเลียม – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมปิโตรเลียม – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมเหมืองแร่ – หลักสูตรวิศวกรรมปิโตรเคมี ภาควิชาวิศวกรรมปิโตรเคมี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี – ภาควิชาปิโตรเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้า สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าเรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจะศึกษาครอบคลุมเกี่ยวกับระบบการการผลิตไฟฟ้าไปจนถึงการส่งกระแสไฟฟ้า ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบไฟฟ้า ระบบผลิตไฟฟ้า ควบคุมการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า วิเคราะห์และแก้ไขปัญหาออกแบบการปรับปรุง และวางแผนการซ่อมบำรุงในการผลิตไฟฟ้า วางแผน ควบคุมการสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า และในการทำงานจริงจึงมีความจำเป็นในการที่ต้องศึกษาเกี่ยวกับการเดินสายไฟเพื่อส่งกระแสไฟฟ้า การจ่ายโหลดพลังงานไฟฟ้า และยังด้องมีความสามารถในการประสานงานเจ้าหน้าที่ควบคุมสั่งจ่ายไฟ อีกทั้งเตรียมพร้อมกับภาวะฉุกเฉินของเครื่องมือภายในพื้นที่ควบคุม สาขางานเทคโนโลยีระบบส่งไฟฟ้าจบไปทำงานอะไร ? – วิศวกรด้านไฟฟ้ากำลัง – เจ้าหน้าที่ติดตั้งระบบไฟฟ้า – งานออกแบบระบบไฟฟ้า – งานเขียนโปรแกรมควบคุมไฟฟ้า – งานออกแบบระบบส่องสว่าง สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เรียนเกี่ยวกับอะไร ? สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะศึกษาเกี่ยวกับระบบผลิตไฟฟ้าของระบบโซลาร์เซลล์ ศึกษาโครงสร้างและหลักการทำงานของโซลาร์เซลล์ การต่อแผงโซล่าเซลล์ใช้งานกับระบบไฟฟ้าภายในอาคาร ร่วมกับการต่อเชื่อมระบบจำหน่ายไฟฟ้า นอกจากจะศึกษาเกี่ยวกับการควบคุมกระบวนการผลิตกระแสไฟฟ้าจากโซลาร์เซลล์แล้ง ยังศึกษาเกี่ยวกับการวางแผนและสั่งการดำเนินงานของสถานีผลิตไฟฟ้า ดูแลบำรุงรักษาโซลาร์เซลล์ การดูแลบำรุงรักษาตัวแปลงกระแสไฟฟ้า และระบบเชื่อมต่อต่าง ๆ และการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ สาขางานระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จบไปทำงานอะไร ? – ผู้ปฏิบัติงานด้านการขายระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านติดตั้ง ซ่อมและบำรุงรักษาระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ – ผู้ปฏิบัติงานด้านออกแบบระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทั้ง 3 สาขานี้อาชีพที่เกี่ยวกับกลุ่มพลังงานและพลังงานทดแทน สามารถศึกษาต่อได้ที่มหาวิทยาลัยต่อไปนี้ – สาขาวิชาไฟฟ้า สถาบันเทคโนโลยีจิตรลดา – สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต – ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี – ภาควิชาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ – สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น – มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนครพนม คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยนครพนม วิทยาลัยธาตุพนม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนเรศวร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา วิทยาศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง คณะเทคโนโลยีการอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม แขนงวิชาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตวังไกลกังวล คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ วิทยาเขตศาลายา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช วิทยาลัยเทคโนโลยีอุตสาหกรรมและการจัดการ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตสงขลา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรัง คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดนครราชสีมา คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสกลนคร คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตภาคสุรินทร์ เทคโนโลยีการเกษตร สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้า – จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าเครื่องกลการผลิต – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – อิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าอุตสาหกรรม – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าอุตสาหกรรมและพลังงาน – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธรไทย-เยอรมัน สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง – มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยบูรพา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยพะเยา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ สำนักวิชาวิศวกรรมศาสตร์และทรัพยากร สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขตชุมพร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยกรุงเทพ วิทยาเขตรังสิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเซนต์จอห์น คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยธนบุรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาเทคโนโลยีไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยนอร์ท-เชียงใหม่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยปทุมธานี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์ – มหาวิทยาลัยรังสิต คณะวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยสยาม คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและพลังงาน – มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ – มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า – วิทยาลัยเทคโนโลยีจิตรลดา คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม สาขาไฟฟ้ากำลัง – วิทยาลัยพิชญบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลัง เป็นยังไงบ้างคะน้อง ๆ กับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ได้เห็นกันแล้วใช่ไหมเอ่ย กับหลักสูตรที่เกี่ยวกับสาขาอาชีพปิโตรเลียม เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงานทดแทน ซึ่งสาขาวิชานี้เหมาะสำหรับน้อง ๆ ที่ชอบเกี่ยวกับวิชาเคมี ชอบทำการทดลอง ได้คิดค้นสารหรือพลังงานต่าง ๆ เพื่อเป็นพลังงานทดแทนในอนาคต ซึ่งทั้ง 3 หลักสูตรนี้ก็จะมีการเรียนการสอนที่แตกต่างกันไป แต่ละหลักสูตรก็จะมีจุดเด่นเฉพาะตัว น้อง ๆ สามารถนำจุดเด่นทั้งหมดนี้ มาพิจารณาในการเลือกวิชาชีพที่จะศึกษาต่อ และแน่นอนว่าสาขาอาชีพทั้ง 7 สาขาตามกรอบคุณวุฒิที่พี่ ๆ ได้นำมาแนะนำน้อง ๆ นั้น เป็นสาขาอาชีพที่ตลาดแรงงานต้องการและเมื่อเรียนจบไปมีงานรับรองแน่นอน และสำหรับ EP ต่อไปจะเป็นสาขาวิชาชีพไหน ใช่สาขาวิชาชีพที่น้อง ๆ สนใจหรือเปล่า อย่าลืมติดตามข่าวสารกันนะคะเด็ก ๆ หากน้อง ๆ คนไหนอยากรู้ว่า 7 สาขาอาชีพแห่งอนาคตตามกรอบคุณวุฒิมีอะไรบ้างสามารถเช็กได้ที่ EP.1 สาขาอาชีพโลจิสติกส์โครงสร้างพื้นฐาน คลิก EP.2 สาขาอาชีพโลจิสติกส์และซัพพลายเชน คลิก EP.3 สาขาหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ คลิก EP.4 สาขาอาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และดิจิทัลคอนเทนต์ คลิก EP.5 สาขาอาชีพอาหารและเกษตร คลิก EP.6 สาขาปิโตรเคมี เคมีภัณฑ์ พลังงานและพลังงาน คลิก EP.7 สาขาอาชีพแม่พิมพ์ คลิก
เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
ดีก็ว่าดี!! แขนงวิชาการออกแบบสินค้าไลฟ์สไตล์ สวนสุนันทา เรียนแบบรักษ์โลก พิสูจน์คุณภาพ สร้างชื่อกวาดรางวัลเวทีระดับชาติและนานาชาติ