New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สวัสดีค่าน้อง ๆ #DEK68 วันนี้มีอัพเดททางมหาวิทยาลัยที่เริ่มประกาศ มีทั้งกำหนดการรับสมัคร และที่เริ่มหมดเขตการสมัคร สำหรับ TCAS68 กันออกมาแล้ว วันนี้ Edozones ได้รวบรวมรายละเอียดของการสมัครในรอบต่าง ๆ ของแต่ละมหาวิทยาลัยไว้ให้แล้ว โดยเป็นประกาศจากทางมหาลัยเพื่อให้เหล่า น้อง ๆ… เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย… นักศึกษา เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ EZ WebmasterNovember 21, 2024 18 พฤศจิกายน 2567 นายยศพล เวณุโกเศศ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการองค์การเกษตรกรในอนาคตแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ระดับภาคเหนือ ครั้งที่ 45 โดยมีนายอำเภอแม่ทา นายทองอาบ บุญอาจ ประธานกรรมการอำนวยการ อกท.ภาคเหนือ… วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” EZ WebmasterNovember 21, 2024 คลาสออนไลน์ “ภาษาจีน + ดนตรี” วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นหนึ่งในคณะของมหาวิทยาลัยรังสิต ซึ่งตั้งอยู่ในจังหวัดปทุมธานี วิทยาลัยนี้เน้นการเรียนการสอนในหลากหลายสาขาวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาภาษาศาสตร์ เช่น ภาษาจีน ภาษาอังกฤษ และภาษาไทย วิทยาลัยศิลปศาสตร์มีการจัดหลักสูตรที่หลากหลาย…
เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง EZ WebmasterNovember 22, 2024 บัณฑิตมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (ราชมงคลพระนคร) ที่สำเร็จการศึกษาประจำปีการศึกษา 2566 มีงานทำ ร้อยละ 76 โดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีรายได้เฉลี่ยสูงสุดต่อเดือน 20,197 บาท และจากการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตในภาพรวมของทุกด้าน คะแนนอยู่ที่ 4.25 ดร.ณัฐวรพล รัชสิริวัชรบุล อธิการบดี ราชมงคลพระนคร เปิดเผยว่า… ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
ทีมนักศึกษาสถาปัตย์ สวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน tui sakrapeeNovember 20, 2024 ขอแสดงความยินดีทีมนักศึกษาสาขาวิชาสถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมภายใน ทั้ง 3 ทีม จากวิทยาลัยสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา คว้า 3 รางวัลระดับนานาชาติ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน จากการเข้าประกวดแข่งขัน The National College Interior Design Skills Competition… คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,… ทุนดีดี ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 EZ WebmasterNovember 19, 2024 คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เปิดรับสมัครนักศึกษา ป.โท ภาคปกติ (รอบพิเศษ) ประจำภาค 2/2567 . กรณีสอบสัมภาษณ์ กรณีทุนส่งเสริมการศึกษา กรณีผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีและมีประสบการณ์การทำงาน . รับสมัครบัดนี้ – 27 พฤศจิกายน… อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
อาจารย์-นักศึกษา ม.กรุงเทพ สร้างชื่อฝีมือดีเด่น คว้า 4 รางวัลระดับชาติจาก สสอท. tui sakrapeeNovember 19, 2024 อาจารย์-นักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพ สร้างผลงานดีเด่นด้านวิชาการและด้านกิจกรรม รับรางวัลระดับชาติ 4 รางวัล ดังนี้ ผศ.ดร.ฤทธิรงค์ จุฑาพฤฒิกร อาจารย์ประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ รับรางวัลบุคลากรดีเด่นด้านวิชาการ อาจารย์ดีเด่น กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์, ดร.สมใจ สิริตระการกิจ รองคณบดีหลักสูตรนานาชาติและวิทยาลัยนานาชาติ รับรางวัลนักศึกษาดีเด่นประเภทวิทยานิพนธ์ดีเด่น ระดับปริญญาเอก กลุ่มสาขาสังคมศาสตร์,…
ศอ.บต.จับมือซีพี ออลล์ เปิดให้ 400 ทุน เพื่อเด็กชายแดนใต้เรียนต่อระดับ ปวช. ปวส.และปริญญาตรี tui sakrapeeNovember 20, 2024 ศูนย์อำนวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ร่วมกับ บริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด (มหาชน) จะดำเนินการรับสมัครและคัดเลือกเยาวชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประกอบไปด้วย จังหวัด สงขลา จังหวัดสตูล จังหวัดปัตตานีจังหวัดยะลา และจังหวัดนราธิวาส เพื่อเข้าศึกษาต่อในระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)… เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
เปิดให้ทุนเยาวชนขาดแคลนทุนทรัพย์ มีความตั้งใจเรียนต่อระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา tui sakrapeeNovember 8, 2024 มูลนิธิพูนพลัง เปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนต่อ ในโครงการ ทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2568 สำหรับนักเรียน นักศึกษาที่จะศึกษาในระดับ ปวช. ปวส. ปริญญาตรี ในปีการศึกษา 2568 ลักษณะโครงการ โครงการทุนการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา สนับสนุนทุนการศึกษาแก่เยาวชนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ แต่มีความตั้งใจศึกษาเล่าเรียน และได้พยายามช่วยเหลือตนเอง… มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… ครู-อาจารย์ สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป…
สมศ. ประกาศรับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ สามารถยื่นใบสมัครได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ถึงวันที่ 6 ธันวาคม 2567 EZ WebmasterNovember 22, 2024 สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ สมศ. มีความประสงค์รับสมัครบุคคลเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นผู้อำนวยการ ผู้ที่มีความประสงค์จะสมัครสามารถยื่นใบสมัครพร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ ได้ระหว่างวันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 – วันที่ 6 ธันวาคม 2567 ดาวน์โหลดใบสมัครได้ที่เว็บไซต์ www.onesqa.or.th ดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ลิงก์ https://shorturl.onesqa.or.th/uIqgj สามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ฝ่ายเลขานุการคณะอนุกรรมการสรรหาฯหมายเลขโทรศัพท์ 0 2216 3955 ต่อ 264 (นุชจรี) ต่อ 290 (นภาภร) ต่อ 186 (กัลยวีร์) New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน EZ WebmasterNovember 22, 2024 งานประชุมวิชาการ New Directions East Asia 2024 ที่จัดขึ้นครั้งแรกในประเทศไทย ระหว่างวันที่ 21-23 พฤศจิกายน 2567 โดยบริติช เคานซิล มุ่งเน้นการสำรวจบทบาทที่เปลี่ยนแปลงไปของการวัดทักษะภาษาในระดับนานาชาติ ภายใต้หัวข้อ “อิทธิพลของการวัดระดับทักษะภาษาที่มีต่อบุคคลและสังคม” โดยประเด็นหลักจะมี… มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์… กิจกรรม EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน tui sakrapeeNovember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ได้รับการจัดอันดับจาก AppliedHE™ ในลำดับที่ 3 ของมหาวิทยาลัยเอกชนในอาเซียน ได้ประกาศเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2024 ที่ประเทศมาเลเซีย การจัดอันดับ AppliedHE เน้นย้ำถึงสถาบันที่มอบประสบการณ์การเรียนรู้โดยรวมที่ดีที่สุดและการเตรียมความพร้อมสำหรับการจ้างงานในอนาคต ทำให้ได้รับการยอมรับอย่างสูง การจัดอันดับนี้มีความพิเศษ เนื่องจากครอบคลุมเฉพาะมหาวิทยาลัยที่ตั้งอยู่ในกลุ่มประเทศอาเซียน (ASEAN)… วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์…
วิทยาลัยครูสุริยเทพ ม.รังสิต รับสมัครอาจารย์ 1 ตำแหน่ง EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยครูสุริยเทพ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดรับสมัครอาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (M.Ed.) โดยผู้สมัครจะต้องมีคุณสมบัติดังนี้ จบการศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง มีผลงานตีพิมพ์ 3 ชิ้น ในระยะเวลา 5 ปี และมีผลสอบภาษาอังกฤษ TOEFL 600, IELTS 6.5, CEFR C1 หรือเทียบเท่า หากมีตำแหน่งวิชาการ เคยเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์…
EMPATHY: วิถีของผู้นำผ่านเวทีนางงามโลก EZ WebmasterNovember 22, 2024 สะเทือน!!! เวทีนางงาม Miss Universe 2024 เมื่อตัวแทนสาวงามจากประเทศไทยน้องโอปอล-สุชาตา ช่วงศรี ตอบคำถามรอบ 5 คนสุดท้ายเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2024 ที่ผ่านมาด้วยน้ำเสียง สายตา ท่าทาง และบุคลิกภาพที่เต็มเปี่ยมไปด้วยความมั่นใจและสง่างามเรียกเสียงปรบมือสนั่นลั่นดินแดนจังโก้ จาก… เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU EZ Webmaster Related Posts New Directions East Asia 2024 พลิกโฉมการวัดทักษะภาษา สู่พัฒนาสังคมและเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน เปิดสถิติบัณฑิตราชมงคลพระนครมีงานทำ-เงินเดือนสูง รวมวันรับสมัครรอบ Portfolio TCAS68 เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่ วิทยาลัยศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต “การชื่นชม และสัมผัสประสบการณ์กู่เจิงของจีน” Post navigation PREVIOUS Previous post: ทุนอบรมภาษาจีน-ศึกษาดูงาน สำหรับข้าราชการและพนักงานของรัฐ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีนNEXT Next post: นักวิทยาศาสตร์พันธุ์ใหม่ ต้องไม่รู้แค่เรื่องวิทย์! วิทย์ฯ มธ. ดันไอเดีย “SCI+BUSINESS” พร้อมเปิดตัววิชาใหม่ปั้นนักวิทย์พร้อมไอเดียธุรกิจ
เปิดโลกคอสเพลย์ไทย เมื่อคอสเพลย์เป็นมากกว่างานอดิเรก กำลังค่อยๆเติบโตและเป็นที่ยอมรับมากขึ้น EZ WebmasterNovember 21, 2024 คอสเพลย์ (Cosplay) คือการแต่งกายเลียนแบบตัวละครจากอนิเมะ มังงะ เกม หรือภาพยนตร์ โดยไม่เพียงแค่การแต่งตัวเท่านั้น แต่ยังรวมถึงการแสดงบทบาทและบุคลิกของตัวละครนั้นอย่างสมจริง กิจกรรมนี้มีจุดเริ่มต้นในญี่ปุ่นช่วงปลายศตวรรษที่ 20 ก่อนจะแพร่หลายไปทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย ภาพจาก FB: กล้าถ่าย ในงาน ABC Event… “กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน… Search for: Search
“กระทรวงอว. – ว.นวัตกรรม ธรรมศาสตร์” หนุนไทยสู่ชาติพร้อมใช้ AI ขับเคลื่อนประเทศ ดึงความร่วมมือองค์กรระดับโลก สู่หัวเรือใหญ่จัดประชุม “IACIO 2024” พร้อมเผยสัญญาณอาเซียนใช้ AI โตอันดับ 4 ของโลก มูลค่าซื้อขายแตะ 5 แสนล้าน EZ WebmasterNovember 21, 2024 วิทยาลัยนวัตกรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (CITU) ร่วมกับ International Academy of CIO (IACIO) จัดงานประชุมวิชาการระดับนานาชาติประจำปี 2024 IACIO Annual Conference 2024 ภายใต้หัวข้อ “AI Strategic Transformation Principles and Practices for CIOs” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเปิดมุมมองใหม่ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาปรับใช้ในการสร้างการเปลี่ยนแปลงทางธุรกิจในหลากหลายอุตสาหกรรม โดยงานนี้ได้รวบรวมผู้เชี่ยวชาญและนักวิจัยด้านสารสนเทศจากทั่วโลก ที่จะมาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการใช้งาน AI อันเป็นนวัตกรรมเพื่อผลักดันธุรกิจให้มีความยั่งยืนและเติบโตอย่างรวดเร็ว… มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
มจพ. จัดอบรมเปิดรับสมัครเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 EZ WebmasterNovember 21, 2024 สำนักพัฒนาเทคโนโลยีเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นหน่วยงานบริการเป็นองค์กรที่มีการจัดการและบริหารงานตามมาตรฐานสากลจากการรับรองระบบบริหารคุณภาพ จัดฝึกอบรมทั้งแบบภายในองค์กร (In-house Training) และ การจัดอบรมบุคคลทั่วไป (Public Training) จัดอบรมหลักสูตร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน รุ่นที่ 2 เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ 27-28 พฤศจิกายน…
EZ Webmaster June 12, 2019 EZ Webmaster June 12, 2019 ธรรมศาสตร์ ปลุกไอเดีย “จากบ่อบำบัดความกระหาย สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้” สะท้อนความคิด “ปรีดี พนมยงค์” ท่ามกลางการเปลี่ยนผ่านของสังคมไทย พีบีไอซี มธ. ผลักดัน โมเดลการเรียนรู้ระดับโลก ผ่าน 3 หลักสูตร สุดอินเตอร์ ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน – ไลฟ์สไตล์ผู้เรียนยุคใหม่ ท่ามกลางยุคแห่งการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองครั้งสำคัญของประเทศไทย หลังการเลือกตั้งที่ไม่ได้เกิดขึ้นมานานกว่า 5 ปี คนไทยมีความหวังที่จะเห็นความเปลี่ยนแปลงของประเทศไปในทิศทางที่ดีขึ้น โดยเฉพาะความหวังที่ฝากไว้กับคนรุ่นใหม่ ที่กำลังก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อน ในขณะที่คนรุ่นเก่าจำนวนไม่น้อย ก็ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนออกจากตำแหน่งสำคัญๆ ของประเทศไปตามวาระ ความเปลี่ยนแปลงดังกล่าวไม่ได้บ่งบอกว่าเป็นสัญญาณที่ดีหรือไม่ แต่เป็นสัญญาณแห่งการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ หนึ่งในภาคส่วนที่สำคัญสำหรับการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ คือ“สถาบันการศึกษา” ที่มีบทบาทอย่างยิ่งในการผลักดันคนรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพ เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศไทยในอนาคต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา ที่มีบทบาทสำคัญในการผลิตบุคลากรคุณภาพ ออกมารับใช้ประเทศชาติอยู่เสมอ โดยเฉพาะบุคคลสำคัญในวงการการเมืองไทย ที่มักจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ไม่ว่าจะเป็น อาจารย์ ศิษย์เก่า หรือแม้กระทั่งบุคคลสำคัญยุคเปลี่ยนผ่านมาสู่ประชาธิปไตยอย่าง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ได้ชื่อว่าเป็นผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย หากมองย้อนไปถึงเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้ขึ้น นอกจากต้องการผลิตบุคลากรคุณภาพเพื่อเป็นส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนประเทศชาติแล้ว ส่วนหนึ่งท่านยังต้องการให้ธรรมศาสตร์เป็น “ตลาดวิชา” ของประชาชน หรือทำหน้าที่เป็นบ่อบำบัดความกระหายให้แก่ราษฎร และให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่คนทุกชนชั้น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน ธรรมศาสตร์อยู่คู่ประเทศไทยมาเป็นเวลา 85 ปี เผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ และความเปลี่ยนแปลงในแต่ละยุคสมัย โดยที่ธรรมศาสตร์มีการปรับตัวรองรับความเปลี่ยนแปลงของโลกอยู่เสมอ เพื่อตอบโจทย์ความต้องการของคนรุ่นใหม่ ทั้งผู้เรียน และผู้ประกอบการที่ต้องการแรงงานคุณภาพ จากรั้วมหาวิทยาลัยแนวหน้าของประเทศไทย เมื่อเร็วๆ นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดกิจกรรมเสวนาทางวิชาการ ในหัวข้อ “อนาคตอุดมศึกษาไทย : จากบ่อน้ำบำบัดความกระหายสู่ความหลากหลายของการเรียนรู้” โดยมี ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ อดีตนายกรัฐมนตรี และ รองศาสตราจารย์ ดร.อนุชาติ พวงสำลี คณบดีคณะวิทยาการเรียนรู้และศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมแลกเปลี่ยนมุมมองทางด้านการศึกษาระดับอุดมศึกษาของไทย ความท้าทายใหม่ๆ สำหรับสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนที่ลดลงของผู้สมัครเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย โดยในปีที่ผ่านมา มีจำนวนที่นั่งของมหาวิทยาลัยว่างกว่า 1.2 แสนที่นั่ง สาเหตุหนึ่งมาจากจำนวนประชากรวัยเรียนที่ลดลง และอีกสาเหตุสำคัญ คือ เทรนด์การเรียนรู้ที่เปลี่ยนไป ไม่จำกัดอยู่แค่ในระบบการศึกษาเท่านั้น ตลอด 85 ปีที่ผ่านมา ความท้าทายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ธรรมศาสตร์เล็งเห็น และมีการปรับตัวอยู่เสมอ หากย้อนรอยประวัติศาสตร์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ จะเห็นว่าไทม์ไลน์การเปลี่ยนแปลงของธรรมศาสตร์ แบ่งออกเป็น 3 ยุค ที่สร้างการเป็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญให้แก่มหาวิทยาลัย ดังต่อไปนี้ บ่อบำบัดความกระหายของราษฎร: ตลาดวิชาธรรมศาสตร์ ในฐานะผู้ให้เสรีภาพทางการศึกษา ความตั้งใจแรกเริ่มของอาจารย์ปรีดี ในการก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้น นอกจากการให้เสรีภาพทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปแล้ว ยังมองว่าการทำให้การเรียนรู้ระดับอุดมศึกษา เป็นแบบ “ตลาดวิชา” หรือการเรียนรู้ที่หลากหลาย ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่สำคัญเช่นกัน โดยในปี พ.ศ. 2477 หรือปีแรกที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมืองถือกำเนิดขึ้น มีรูปแบบการเรียนการสอนแบบหลักสูตรเดียว คือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” หรือการเรียนการสอนที่ผู้เรียนจะได้เรียนด้านสังคมศาสตร์อย่างกว้างขวาง ทั้ง นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ จุดประสงค์หลักเพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักกฎหมาย หลักการปกครอง และหลักการทางเศรษฐศาสตร์ไปด้วยกัน เพื่อป้อนบัณฑิตที่มีความเข้าใจหลักสังคมพื้นฐานอย่างรอบด้านเข้าสู่งานราชการ และมุ่งหวังให้เหล่าธรรมศาสตรบัณฑิต ทำหน้าที่เป็นฟันเฟืองในการขับเคลื่อนสังคมไทยต่อไป รับใช้ประชาคือ ปลายทางเราที่เล่าเรียน: 4 คณะก่อตั้ง กับการมุ่งสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หลังจากที่เปิดหลักสูตรธรรมศาสตรบัณฑิต เป็นเวลา 15 ปี ในปี พ.ศ. 2492 มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้ปรับเปลี่ยนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน แยกออกเป็น 4 คณะ หรือที่รู้จักกันในนาม 4 คณะก่อตั้งของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้แก่ คณะนิติศาสตร์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี คณะรัฐศาสตร์ และคณะเศรษฐศาสตร์ เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์นั้นๆ อย่างลึกซึ้ง ตอบโจทย์สังคมยุคอุตสาหกรรมในขณะนั้น ที่ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ และต่อมาก็มีการเปิดคณะ และสาขาวิชาต่างๆ เพิ่มขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอบโจทย์ความต้องการบัณฑิตที่หลากหลายในโลกการทำงาน เมื่อยุคสมัยเปลี่ยนไป สังคมยุคอุตสาหกรรมเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมที่เต็มไปด้วยเทคโนโลยี ภาคธุรกิจต่างๆ สามารถนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการทำงานได้ ความต้องการแรงงานในภาคธุรกิจจึงไม่เพียงต้องการคนที่มีความสามารถด้านใดด้านหนึ่ง แต่ต้องการคนที่มีความสามารถรอบด้าน เหนือกว่า AI หน้าที่ของมหาวิทยาลัยจึงต้องดึงศักยภาพในตัวนักศึกษาแต่ละคนออกมาให้ได้ โดยการปรับเปลี่ยนรูปแบบการเรียนการสอน ที่ไม่ใช่เพียงแค่การให้ความรู้ หรือการป้อนข้อมูลให้แก่ผู้เรียน ในยุคที่ใครๆ ก็สามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้ด้วยตัวเอง แต่ต้องทำให้ผู้เรียนเป็นนักคิด วิเคราะห์ รวมทั้งทำให้มหาวิทยาลัย กลายเป็นที่ที่ผู้เรียนสามารถเตรียมพร้อมทักษะต่างๆ (Up – skill) ก่อนเข้าสู่โลกการทำงาน อาทิ การเข้าสังคม การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ความเป็นผู้นำ ความสามารถในการประนีประนอม อีกทั้งผลักดันความสามารถในการปรับตัว (Re – skill) ให้สามารถทำงานร่วมกับเทคโนโลยีใหม่ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด สู่ความหลากหลายทางการเรียนรู้: ธรรมศาสตร์ กับการปรับตัวสู่ตลาดวิชาอีกครั้ง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ตระหนักถึงความจำเป็นในการปรับตัว รองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่เปลี่ยนไป เทรนด์การเรียนรู้แบบ “ตลาดวิชา” หรือความเข้าใจศาสตร์ที่หลากหลาย ตอบโจทย์โลกการทำงานและตรงตามความสนใจของผู้เรียน โดยมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้เปิดคณะ วิทยาลัยใหม่ๆ ที่มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบไม่ได้มุ่งเน้นเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านใดด้านหนึ่งโดยเฉพาะ แต่ให้ผู้เรียนได้ทำความเข้าใจหลากหลายศาสตร์ไปพร้อมกัน ซึ่งเทรนด์การเรียนรู้ดังกล่าวเกิดขึ้นแล้วในมหาวิทยาลัยชั้นนำต่างประเทศ อาทิ หลักสูตรโลกและอาณาบริเวณศึกษา มหาวิทยาลัยออกซ์ฟอร์ด หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา โซแอส มหาวิทยาลัยลอนดอน เป็นต้น หลักสูตรเหล่านี้ ผู้เรียนจะได้เรียนรู้อย่างบูรณาการ ทั้งการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษานั้นๆ ต่างจากการเรียนการสอนในอดีต ที่มุ่งเน้นการเรียนการสอนเพียงแค่ด้านใดด้านหนึ่ง ตามสังกัดของคณะ อาจกล่าวได้ว่าการปรับตัวของธรรมศาสตร์ กำลังกลับไปสู่การเรียนรู้แบบหลากหลาย หรือ “ธรรมศาสตรบัณฑิต” อีกครั้ง ในขณะเดียวกัน ก็กำลังก้าวไปข้างหน้าอย่างมั่นคง ด้วยพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนให้ตอบโจทย์คนรุ่นใหม่อยู่เสมอ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธินันท์ วิศเวศวร คณบดีวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กล่าวว่า วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ (Pridi Banomyong International College: PBIC) เป็นอีกหนึ่งในก้าวสำคัญของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการปรับตัวสู่การเรียนรู้ยุคใหม่ ด้วยการเรียนการสอนแบบสหวิทยาการการเรียนรู้ เชื่อมโยงการทำความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน ไม่ว่าจะเป็น รัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ สังคมวิทยา ภาษา และวัฒนธรรม ของอาณาบริเวณศึกษา (Area Studies) ที่น่าจับตามอง ได้แก่ จีน อินเดีย และไทย นอกจากนี้ การเรียนการสอนแบบที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ในหลากหลายศาสตร์ ยังเป็นการสืบสานเจตนารมณ์ของอาจารย์ปรีดี ในแง่ของความต้องการผลักดันการเรียนรู้ที่หลากหลายตามความตั้งใจในการก่อตั้งมหาวิทยาลัย “ตลาดวิชา” แห่งแรกของประเทศไทย “นอกจากนี้ยังมีความท้าทายใหม่ๆ สำหรับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษา โดยเฉพาะจำนวนผู้สมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง พีบีไอซี ในฐานะวิทยาลัยนานาชาติที่มีการปรับตัวอย่างต่อเนื่อง เล็งเห็นโอกาสที่จะได้ทุ่มเทงบประมาณ ทรัพยากร ความสามารถของบุคลากร เพื่อปลุกปั้นบัณฑิตทุกคนอย่างมีคุณภาพ อีกทั้งพัฒนาความร่วมมือทางวิชาการระหว่างประเทศ เพื่อดึงนักศึกษาต่างชาติ เข้ามาเรียนที่พีบีไอซีมากขึ้น พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาพีบีไอซี ได้เรียนรู้มากกว่าในห้องเรียน ผ่านโอกาสการศึกษาในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชั้นนำในต่างประเทศ และจะมุ่งมั่นพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนต่อไป รับความท้าทายใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น” ผศ.ดร. นิธินันท์ กล่าวทิ้งท้าย สำหรับน้องๆ มัธยมปลายที่สนใจรายละเอียดหลักสูตรและข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาลัยที่มุ่งผลิตบัณฑิตผู้เชี่ยวชาญทั้งแง่มุมเศรษฐกิจ การเมือง ภาษาและวัฒนธรรม ในอาณาบริเวณศึกษาเฉพาะที่น่าจับตามอง ไม่ว่าจะเป็นจีน อินเดีย หรือไทย ด้วยการเรียนการสอนหลักสูตรนานาชาติ และโอกาสที่จะได้ศึกษาแลกเปลี่ยนในมหาวิทยาลัยคู่สัญญาชื่อดังในต่างประเทศ สามารถติดตามข้อมูลข่าวสารได้ที่ www.pbic.tu.ac.th สอบถามโทร. 0-2613-3720 หรือ facebook.com/PBIC.TU
เปิดเวทีแห่งอนาคต! 2,859 เกษตรกรรุ่นใหม่ภาคเหนือ ประชันทักษะ 60 รายการ พร้อมโชว์นวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่