โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน…
เทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี ประกวดสหกิจศึกษาดีเด่น หนุนนักศึกษาสร้างสรรค์นวัตกรรม tui sakrapeeNovember 1, 2024 คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) จัดประกวดแข่งขันโครงงานสหกิจศึกษาดีเด่น สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาสหกิจศึกษาในการทำโครงงานสหกิจศึกษาที่เป็นนวัตกรรมและเกิดประโยชน์ให้กับสถานประกอบการ ณ ห้องสงค์ธนาพิทักษ์ มทร.ธัญบุรี รองศาสตราจารย์ ดร.สาคร ชลสาคร คณบดีคณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ เผยว่า ในการดำเนินโครงการในครั้งนี้ เห็นว่าเป็นการมุ่งพัฒนาศักยภาพของนักศึกษาและช่วยให้นักศึกษารวบรวมผลงานจากการปฏิบัติการงานในองค์กรผู้ใช้บัณฑิต มาจัดประกวดแข่งขันร่วมกัน ซึ่งจากที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานสหกิจศึกษา ทำให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ตรงตามสาขาวิชาที่เรียนเพิ่มเติมนอกเหนือไปจากการเรียนในห้องเรียน…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: มหาวิทยาลัยซีเอ็มเคเเอลจัดการแข่งขัน “AI Innovator Award 2022 Pitch Competitions” เพื่อเฟ้นหาสุดยอดไอเดีย พัฒนานวัตกรรม AI เพื่อพลิกโฉมโลก!NEXT Next post: ม.6 หรือ ปวช. สมัครฟรี!โควตาพิเศษ ป.ตรี มรภ.พระนคร พิจารณาจากเกรด ไม่มีสอบข้อเขียน Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster September 6, 2022 EZ Webmaster September 6, 2022 สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) ข้อมูลจาก กลุ่มวิเคราะห์สภาวการณ์ทางการศึกษา สำนักประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สวัสดีค่ะวันนี้ทาง Eduzones ชวนมาอัปเดต #ข้อมูลเกี่ยวกับการเเข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 โดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ในการวิเคราะห์ข้อมูลเเละมีการจัดอันดับความสามารถในการเเข่งขันด้านการศึกษาจากหลาย ๆ ประเทศ เรามาดูกันเลยว่าเเต่ละประเทศอยู่อันดับไหนกันบ้าง สรุปขีดความสามารถการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2565 (จากรายงาน IMD 2022) สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ดำเนินการศึกษาเเละเปรียบเทียบสมรรถนะการศึกษาของประเทศไทยกับนานาชาติโดยใช้ดัชนีของสถาบันในการพัฒนาการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development: IMD) ซึ่งเป็นกรอบหลักสำหรับการวิเคราะห์ในทุก ๆ ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2540 โดยมีจุดมุ่งหมายสำคัญเพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดนโยบายและวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยให้มีคุณภาพและได้มาตรฐานระดับสากล สถาบัน IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ ประจำปี 2565 ในรายงาน The World Competitiveness Yearbook (WCY) 2022 ซึ่งในปีนี้ IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่าง ๆ รวม 63 ประเทศ โดยมี 2 แหล่งข้อมูลที่ IMD นำมาจัดอันดับคือ 1) ข้อมูลสถิติ/ข้อมูลทุติยภูมิ (Hard data/Secondary data) เป็นการรวบรวมจากองค์การระหว่างประเทศ ระดับชาติและภูมิภาค เช่น OECD, World Bank, UN, WTO, UNESCO/UIS, IMF เป็นต้น 2) ข้อมูลจากการสำรวจ (Survey data) มาจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารระดับกลางและระดับสูงโดยข้อมูลที่ได้จะอยู่ในรูปของคะแนนความพึงพอใจที่มีค่าระหว่าง 1 – 10 IMD พิจารณาอันดับตัวชี้วัดที่สำคัญ 4 ปัจจัยหลัก (Competitiveness Factors) ประกอบด้วย 1) สมรรถนะทางเศรษฐกิจ (Economic Performance) 2) ประสิทธิภาพภาครัฐ (Government Efficiency) 3) ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ (Business Efficiency) 4) โครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) แต่ละปัจจัยหลักประกอบไปด้วย 5 ปัจจัยย่อย (Sub-factors) รวมทั้งสิ้น 20 กลุ่ม ซึ่งแต่ละปัจจัยย่อยมีจำนวนตัวชี้วัด (Criteria) ในแต่ละปีที่ไม่เท่ากัน โดยในปี 2565 มีตัวชี้วัดรวมทั้งสิ้น 333 ตัวชี้วัด (รายละเอียด ตาราง 1) สำหรับปัจจัยด้านการศึกษาเป็นปัจจัยย่อยอยู่ในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐานและมีตัวชี้วัด 19 ตัวชี้วัด ตาราง 1 ปัจจัยหลักและปัจจัยย่อยในการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน ปี 2564 ความสามารถในการแข่งขันในภาพรวมของประเทศไทย ประเทศไทยมีอันดับลดลงจากอันดับที่ 28 เป็น 33 จากทั้งหมด 63 ประเทศ หากพิจารณาผลการจัดอันดับของประเทศไทยที่ได้รับการจัดอันดับในกลุ่มอาเซียน พบว่า สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย อินโดนีเซียและฟิลิปปินส์มีอันดับลดลงโดยมาเลเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ที่อันดับ 32 (จากอันดับที่ 25 ในปี 2564) และอินโดนีเซียมีอันดับลดลง 7 อันดับ มาอยู่ในอันดับที่ 44 (จากอันดับที่ 37 ในปี 2564) ส่วนประเทศไทยมีอันดับลดลง 5 อันดับมาอยู่ในอันดับที่ 33 (จากอันดับที่ 28 ในปี 2564) และยังเป็นอันดับ 3 ในอาเซียนรองจากสิงคโปร์และมาเลเซียโดยสิงคโปร์มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ มาอยู่ในอันดับ 3 (จากอันดับ 5 ในปี 2564) และมีอันดับเป็นอันดับ 1 ในภูมิภาคอาเซียน ความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ในปี 2565 IMD ได้จัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาซึ่งเป็น 1 ใน 5 ของปัจจัยย่อยในปัจจัยหลักด้านโครงสร้างพื้นฐาน การศึกษาของประเทศไทยอยู่ในอันดับ 53 โดยมีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2564 และมีอันดับดีที่สุดในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ 10 ปี ที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าประเทศไทยมีสมรรถนะด้านการศึกษาลดลงจากอันดับที่ 51 ในปี 2556 ลดลงเป็นอันดับที่ 53 ในปี 2565 ลดลง 2 อันดับ (แผนภาพ 1) แผนภาพ 1 อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย ปี 2556 – 2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2013-2022 ตัวเลขในวงเล็บ คือ จำนวนประเทศทั้งหมดที่เข้าร่วมการจัดอันดับ เมื่อพิจารณาผลการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาตามกรอบการประเมินของ IMD จำนวน 19 ตัวชี้วัดของประเทศไทย ในปี 2565 เปรียบเทียบกับปี 2564 พบว่า ตัวชี้วัดที่มีอันดับดีขึ้น มี 12 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ 12 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP (2) งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา (5) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คน ที่สอนระดับมัธยมศึกษา (6) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา (7) ผลการทดสอบ PISA (8) ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการทดสอบคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (9) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา (10) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาเรียนระดับอุดมศึกษาในประเทศต่อประชากร 1,000 คน (11) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) (12) ดัชนีมหาวิทยาลัย ตัวชี้วัดที่มีอันดับเท่าเดิม มี 2 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 1 ตัวชี้วัด (1) จำนวนนักศึกษาต่างชาติที่ไปศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาต่อประชากร 1,000 คน กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 1 ตัวชี้วัด (1) การบริหารจัดการศึกษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของภาคธุรกิจ ตัวชี้วัดที่มีอันดับลดลง มี 5 ตัวชี้วัด จำแนกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ตัวชี้วัดที่รวบรวมจากหน่วยงานต่าง ๆ จำนวน 2 ตัวชี้วัด (1) ร้อยละของผู้หญิงที่จบการศึกษาปริญญาตรีขึ้นไป (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป กลุ่มที่ 2 ตัวชี้วัดที่ใช้วิธีการสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ 3 ตัวชี้วัด (1) การศึกษาระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษาที่ตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ (2) การตอบสนองต่อความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการอุดมศึกษา (3) ทักษะทางภาษาที่ตอบสนองต่อความต้องการของสถานประกอบการ ในปี 2565 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีการพัฒนามากที่สุด ได้แก่ (1) งบประมาณด้านการศึกษาต่อ GDP โดยมีอันดับดีขึ้น 10 อันดับ จากอันดับที่ 59 (3.0 % GDP) เป็นอันดับที่ 49 (3.7 % GDP) รองลงมาเป็น (2) ผลสัมฤทธิ์ของการอุดมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 4 อันดับ จากอันดับที่ 49 (32 %) เป็นอันดับที่ 45 (34 %) และ (3) งบประมาณด้านการศึกษาต่อนักเรียนทุกระดับการศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับที่ 56 (986 us$) เป็นอันดับที่ 53 (1,294 us$) ทั้งนี้ ตัวชี้วัดด้านการศึกษาที่มีอันดับดีที่สุด ได้แก่ อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับประถมศึกษา มีอันดับดีขึ้นถึง 2 อันดับ จากอันดับที่ 30 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 15 คน) ในปี 2564 มาเป็นอันดับที่ 28 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 14 คน) ในปี 2565 ในทางกลับกันตัวชี้วัดที่มีอันดับต่ำที่สุดในด้านการศึกษา จำนวน 4 ตัวชี้วัด ได้แก่ (1) อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 2 อันดับ จากอันดับ 61 (72.7%) ในปี 2564 เป็นอันดับ 59 (77.5%) ในปี 2565 (2) อัตราการไม่รู้หนังสือของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีอันดับลดลง 1 อันดับ จากอันดับที่ 57 (6.2 %) ในปี 2564 เป็นอันดับ 58 (6.2 %) ในปี 2565 (3) ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) มีอันดับดีขึ้น 1 อันดับจากอันดับที่ 58 (80 คะแนน)ในปี 2564 เป็นอันดับที่ 57 (83 คะแนน) ในปี 2565 และ (4) อัตราส่วนนักเรียนต่อครู 1 คนที่สอนระดับมัธยมศึกษา มีอันดับดีขึ้น 3 อันดับ จากอันดับ 62 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 25.95 คน) ในปี 2564 เป็นอันดับ 57 (ครู 1 คนต่อนักเรียน 23.59 คน) ในปี 2565 แผนภาพ 2 ตัวชี้วัดด้านการศึกษาของ IMD ปี 2564-2565 ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2021-2022 หมายเหตุ : ** หมายถึง ตัวชี้วัดที่ได้จากแบบสำรวจความคิดเห็นจากผู้บริหารธุรกิจ (ตัวเลขในวงเล็บ คือ อันดับของตัวชี้วัด) ตาราง 2 อันดับภาพรวมด้านการศึกษา 2 ปีย้อนหลัง หมายเหตุ ในปี 2022 มีประเทศเข้ามาใหม่ ได้แก่ บาห์เรนและไม่มีประเทศรัสเซียและยูเครน ผู้ที่สนใจสามารถดาวน์โหลดบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://bit.ly/3Ra9PcF #สภาการศึกษาxEduzones #OECnews #OECAcademicArticle #สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา #สภาการศึกษา #การศึกษา #eduzones OEC News สภาการศึกษา • Website: http://www.onec.go.th • Facebook: https://www.facebook.com/OECSocial • YouTube: https://bit.ly/2zXPkxO • LINE: @OECNews | http://line.me/ti/p/@OECNews • Blockdit: https://www.blockdit.com/oecnews
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่