โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ EZ WebmasterNovember 5, 2024 รายละเอียดเบื้องต้นโครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจำปีการศึกษา 2568 TCAS68 รอบที่ 2 (Quota) ประกาศฉบับเต็มประมาณ กลางเดือน พ.ย. 67 รายละเอียดเพิ่มเติม คลิก โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) EZ WebmasterNovember 4, 2024 โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) เปิดรับเฉพาะ : หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) กำหนดการรับสมัคร รับสมัครวันที่ 14 – 28… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… นักศึกษา ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
ชิงทุนกว่า 1.5 ล้านเรียนต่อต่างประเทศ! ที่งาน QS Masters & MBA Fair พบมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก EZ WebmasterNovember 5, 2024 วันเสาร์ที่ 9 พฤศจิกายน 2566 นี้ พบกับงาน “QS Connect & Discover Masters & MBA Fair” จัดโดย QS (Quacquarelli Symonds)… “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน… ทุนดีดี มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดโครงการ “แคมป์เด็กหัวการค้า” ครั้งที่ 11 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ภายใต้แนวคิด “Business Sandbox” เปิดพื้นที่ให้เยาวชนได้ทดลองพัฒนาแนวคิดธุรกิจในรูปแบบ Startup โดยได้รับความสนใจจากนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายทั่วประเทศกว่า 300 คน สะท้อนให้เห็นถึงความสนใจของเยาวชนไทยที่ต้องการก้าวสู่การเป็นผู้ประกอบการรุ่นใหม่ อาจารย์วุทธินันท์ อ๊อกกังวาน…
มูลนิธิเกื้อฝันเด็กเปิดให้ทุนเรียนฟรี เรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช. tui sakrapeeOctober 31, 2024 มูลนิธิเกื้อฝันเด็กสนับสนุนทุนเรียนฟรี สำหรับนักเรียนที่ต้องการเรียนต่อสายสามัญและสายวิชาชีพ (ระดับชั้น ม.ปลาย และ ปวช.) ในจังหวัดเชียงใหม่และแม่ฮ่องสอน โครงการทุนการศึกษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) ปีการศึกษา 2568 มูลนิธิเกื้อฝันเด็ก (Child’s Dream Foundation) โดยมูลนิธิเกื้อฝันเด็ก เป็นองค์กรการกุศล… มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้ทุนแก่นิสิต นักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ปี 2567 tui sakrapeeOctober 29, 2024 ประกาศรับสมัครขอรับทุนการศึกษาแก่นิสิตนักศึกษาบัณฑิตศึกษา เพื่อใช้ในการค้นคว้าวิจัย ประจำปี 2567 ผู้สนใจสามารถส่งใบสมัครได้ตั้งแต่วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม 2567 – วันศุกร์ที่ 17 มกราคม 2568 ส่งทางไปรษณีย์ได้ที่… เรียน ประธานกรรมการมูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (กลุ่มงานกิจการทั่วไป… บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ… ครู-อาจารย์ มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
บุญรอด บริวเวอรี่ เปิดให้ทุนเด็กรามฯ ที่เรียนดี ประพฤติดี แต่ขาดแคลน ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา tui sakrapeeOctober 17, 2024 บริษัท บุญรอด บริวเวอรี่ จำกัด มอบทุนการศึกษา ประจำปีการศึกษา 2567 จำนวน 9 ทุน ๆ ละ 25,000 บาท ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่มีผลการเรียนดี มีความประพฤติดีแต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ ต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษา … 113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
113 ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ ให้นักศึกษาปี 1-3 พัฒนาศักยภาพ สร้างสรรค์งานวิจัยและนวัตกรรม tui sakrapeeOctober 16, 2024 ทุน โครงการ “ทุนอายิโนะโมะโต๊ะ เพื่อผู้เรียนดีมีศักยภาพเป็นเลิศ”(Ajinomoto Talent Scholarship) ประจําปีการศึกษา 2567 เพื่อสนับสนุนนิสิตนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่น มีความสนใจและศักยภาพที่จะสร้างสรรค์งานวิจัยและ นวัตกรรม ที่กําลังศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ ในสาขาวิชาเอกที่เกี่ยวข้องกับอาหาร โภชนาการ สุขภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ และ…
มทร.ธัญบุรี ผุดหลักสูตรตอบโจทย์ตลาดแรงงาน ผลิตวิศวกรพันธ์ุใหม่ เน้น AI ลดโลกร้อน tui sakrapeeNovember 5, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ร่วมกับเอกชน ผุดหลักสูตรประกาศนียบัตร (Non-Degree) “การประยุกต์ใช้ AI และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้านวิศวกรรมสำหรับงานติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรในโครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก” ภายใต้โครงการผลิตบัณฑิตพันธ์ุใหม่ ปี 2567 โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) เพื่อผลิตบุคลากรคุณภาพสูง ตอบโจทย์ความต้องการของตลาดแรงงานยุค… “สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
“สกสว. ร่วม มรภ.จันทรเกษม” วางแนวทางดึงงานวิจัยเด่นจากกลุ่มมนุษยศาสตร์-สังคมศาสตร์ ขจัดความเหลื่อมล้ำการศึกษาของนักเรียนในท้องถิ่นและชุมชนห่างไกล EZ WebmasterNovember 5, 2024 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) โดยกลุ่มภารกิจการพัฒนา ววน. ด้านสังคม สิ่งแวดล้อม เชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้ำ (O – Inclusiveness) ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม หารือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของมหาวิทยาลัยฯ ซึ่งเป็นหน่วยรับทุนสนับสนุนมูลฐาน (Fundamental Fund: FF)… สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT… กิจกรรม “SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. อบรมครูธรณีวิทยาขั้นต้น อย่าช้าเปิดรับ 30 คน ปักหมุดพัฒนานักเรียนเน้นความรู้คู่ทักษะกระบวนการ EZ WebmasterNovember 5, 2024 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จัดอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านธรณีวิทยาขั้นต้น ประจำปี 2568 ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี กับ สสวท. เพื่อส่งเสริมสมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ธรณีวิทยาให้ครูผู้สอน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เน้นพัฒนาผู้เรียนให้มีองค์ความรู้และทักษะกระบวนการ อบรมวันที่ 20 – 22 ธันวาคม 2567 ณ โรงแรมพาลาสโซ รัชดาภิเษก กรุงเทพฯ รับจำนวน 30 คน สามารถสมัครได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไปและปิดรับสมัครวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ดูรายละเอียดการสมัครโดยสแกน QR หรือ สอบถาม ส่งใบสมัครและเอกสารคำรับรองได้ที่ E-mail : ttroo@ipst.ac.th (คุณกมลพรรณ… 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส EZ WebmasterNovember 4, 2024 ในยุคที่เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว การนำเครื่องมือ AI มาใช้ในชีวิตประจำวันโดยเฉพาะในวัยทำงานกลายเป็นสิ่งจำเป็นที่ไม่สามารถมองข้ามได้ เครื่องมือ AI ไม่เพียงแต่ช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ยังช่วยลดความซับซ้อนในงานต่างๆ และเพิ่มความสะดวกสบายในการทำงานอีกด้วย ดังนั้นขอแนะนำเครื่องมือ AI ที่จะช่วยให้ในการทำงานของชาวออฟฟิศทำงานได้ไวขึ้น โดยจะมีทั้ง Android และ IOS ให้ทุกคนได้ลองใช้กัน 1.ChatGPT…
“SPACE#14 : The Darkness” ปรากฏการณ์ศิลปะบนเรือนร่างและแฟชั่นสุดยิ่งใหญ่ โดย SSRU THEATRE SPACE EZ WebmasterNovember 4, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เปิดประสบการณ์ศิลปะและแฟชั่นสุดอลังการกับงาน “SPACE#14 : The Darkness” ซึ่งจัดโดย SSRU THEATRE SPACE มาในภายใต้ธีม The Body Painting and Costume Design#14… 5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ EZ Webmaster Related Posts โครงการธรรมศาสตร์ช้างเผือกและโครงการนักเรียนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ TCAS68 ม.ธรรมศาสตร์ โครงการเพชรในตม TCAS68 รอบที่ 2 โควตา (Quota) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (มศว) 9 เครื่องมือ AI ที่ช่วยทำงานในออฟฟิศ รวดเร็ว ทันใจ ถูกใจบอส “แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มจพ. รับสมัคร นศ.ใหม่ รอบ FORTFOLIO ครั้งที่ 1 Post navigation PREVIOUS Previous post: ลอรีอัล เปิดรับสมัครชิงทุนวิจัย “เพื่อสตรีในงานวิทยาศาสตร์” ครั้งที่ 21 พร้อมเสริมแกร่งเครือข่ายครอบครัวนักวิจัยสตรีไทยในงาน Conversations with the FellowsNEXT Next post: 10 จังหวัดที่เจริญที่สุดในไทย 2565 Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
5 องค์กรภาคีผนึกกำลังเปิดหลักสูตร “โอกาสธุรกิจสุขภาพและการแพทย์สำหรับผู้บริหารระดับสูง” รุ่นที่ 5 EZ WebmasterOctober 30, 2024 ผศ.ดร.จันทร์จิรา วงษ์ขมทอง ผู้อำนวยการหลักสูตร “ WELLNESS & HEALTHCARE BUSINESS OPPORTUNITY PROGRAM FOR EXECUTIV (WHB)” กล่าวว่า กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข, กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์,… ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์… Search for: Search
ท่องเที่ยวนิด้าหนุนการท่องเที่ยวขนมไทยโบราณ สร้างรายได้ผู้ประกอบการท้องถิ่นอย่างยั่งยืน EZ WebmasterOctober 24, 2024 การท่องเที่ยวเชิงอาหาร “Gastronomy Tourism” เป็นเทรนด์การท่องเที่ยวได้รับความนิยมเป็นอย่างมากในยุคปัจจุบัน ร้านเปรม คาเฟ่ จังหวัดภูเก็ต ถือเป็นร้านขนมไทยที่เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่มีเวลาพักผ่อนเพิ่มอรรถรสในการรับประทานขนมหวานแบบดั้งเดิมของไทยแต่การนำเสนอสวยงามสไตล์โมเดิร์น เพื่อช่วยกันสืบสานภูมิปัญญาบรรพบุรุษไทย จากตำราขนมของคุณย่าและมีให้เลือกกว่า 60 ชนิด ผสมผสานผ่านข้าวของเครื่องใช้อายุนับ 100 ปี ที่รังสรรค์จัดตกแต่งภายในร้าน ล่าสุดหลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวและบริการแบบบูรณาการ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า)… iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำ และแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย EZ WebmasterOctober 21, 2024 การกลับมาครั้งยิ่งใหญ่ของ “iCreator Conference 2024 Presented by SUPALAI” งานมหกรรมรวมกลุ่มคอนเทนต์ครีเอเตอร์ชั้นนำและแพลตฟอร์มระดับโลกครั้งใหญ่ที่สุดในประเทศไทย เปิดพื้นที่แชร์ประสบการณ์ เติมแรงบันดาลใจสู่เส้นทางการสร้างไอคอนิกแบบฉบับของตัวเอง โดยปีนี้ เราพร้อมพาทุกคนตื่นตาตื่นใจไปกับธีม “THE ICONIC” ที่รวมตัวเหล่าไอคอนิกแห่งวงการคอนเทนต์ครีเอเตอร์, อินฟลูเอนเซอร์, แบรนด์…
EZ Webmaster May 11, 2023 EZ Webmaster May 11, 2023 คณะวิทยาศาสตร์ มศว เตรียมความพร้อม งานระดับนานาชาติ เจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประเทศไทย ได้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ระหว่างวันที่ 1 – 10 ธันวาคม 2566 โดยได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในประเทศ ได้แก่ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (มูลนิธิ สอวน.), สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), ศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.), National Coordinator Olympiad Netherlands และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยภายในงานได้รับเกียรติจากรองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการ และพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เล่าถึงความเป็นมาของการจัดการแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระดับมัธยมต้นว่า “เมื่อ 20 ปีก่อนได้มีกลุ่มนักวิชาการที่เล็งเห็นความสำคัญของการกระตุ้นให้นักเรียนมีความสนใจในด้าน วิทยาศาสตร์มากขึ้น คิดว่าน่าจะมีเวทีให้นักเรียนเหล่านี้ได้มาแสดงความสามารถในเชิงวิชาการ จึงได้จัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นในเวทีนานาชาติครั้งแรกที่ประเทศอินโดนีเชีย และในช่วงนั้นประเทศไทยก็ได้รับเชิญให้เข้าร่วมการแข่งขันด้วย ตั้งแต่ครั้งนั้นเราจึงได้ส่งทีมนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้นไปแข่งขัน ซึ่งการที่มีเวทีลักษณะนี้ ถือเป็นการเปิดโอกาสให้นักเรียนที่มีความสนใจและอยากเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ได้มีแรงผลักดันที่จะสร้างศักยภาพของตนเองให้มากขึ้น เพื่อที่จะก้าวเข้าสู่เวทีการแข่งขันในระดับวิชาการในระดับนานาชาติต่อไป” “ในครั้งนี้ที่ประเทศไทยรับเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 (20th International Junior Science Olympiad) เนื่องจากประเทศไทยเราได้มีส่วนร่วมในการส่งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นไปร่วมแข่งขันมาตั้งแต่ครั้งแรกตลอด 20 ปีที่ผ่านมา และยังไม่เคยเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขัน และในปีนี้ พ.ศ. 2566 ถือเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวาระครบ 100 ปี วันประสูติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และการที่ท่านได้รับการรับรองพระนามเป็นบุคคลสำคัญของโลกจากองค์การยูเนสโก และเป็นองค์ประธานมูลนิธิตอนจัดตั้งฯ ในปีพ.ศ. 2542 ทางมูลนิธิฯ จึงเล็งเห็นว่าน่าจะเป็นโอกาสอันดีที่ประเทศไทยยินดีจะรับโอกาสเป็นเจ้าภาพการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 สำหรับการคัดเลือกนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทย ทางมูลนิธิฯ และ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมกันรับสมัคร ซึ่งในปีนี้มีนักเรียนทั่วประเทศประมาณ 10,500 คน ในรอบแรกหลังจากนั้นมีการสอบเพื่อคัดกรองเพื่อให้เหลือจำนวน 300 คน และจากนั้นมีการสอบคัดกรองอีกครั้งเพื่อให้เหลือ 30 คน และนำมาเตรียมความพร้อมโดยการเพิ่มทักษะความรู้ความสามารถเพื่อที่จะไปแข่งขันในระดับเวทีนานาชาติต่อไป และในขณะนี้อยู่ในขั้นตอนสุดท้ายที่กำลังคัดสรรหาตัวแทนประเทศไทย ในด้านการเตรียมความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งนี้ ทางมูลนิธิฯและสสวท. มีการเตรียมการตั้งแต่ยื่นความจำนงที่จะเป็นเจ้าภาพมาในระยะเวลาหลายปี และเห็นว่าคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในหลายระดับทั้งบุคลากรที่จะมาจัดการแข่งขัน บุคลากรทางด้านวิชาการ และสถานที่ที่เหมาะสม เหมาะที่จะต้อนรับนักเรียนจากทั่วโลกและผู้ที่สนใจหรือเกี่ยวข้องได้ และทางมูลนิธิฯ กับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒได้จัดตั้งคณะทำงานหลากหลายส่วน โดยเฉพาะคณะกรรมการวิชาการที่จะทำหน้าที่ในการออกข้อสอบสำหรับการแข่งขันในครั้งนี้ เนื่องจากการแข่งขันในครั้งนี้เป็นการสอบในราย 3 วิชา คือ วิชาเคมี ชีววิทยา และฟิสิกส์ ในการแข่งขันจะประกอบไปด้วยภาคทฤษฎีและภาคภาคปฏิบัติ ซึ่งในด้านการปฏิบัติจะเป็นการประยุกต์นำทั้ง 3 วิชาเข้าด้วยกัน และมีการตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อสอบ มาตรฐานของข้อสอบ จึงกล่าวได้ว่า ประเทศไทยมีความพร้อมแล้วที่จะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันในครั้งที่ 20 นี้ และมั่นใจว่าประเทศไทยจะสามารถจัดการแข่งขันได้อย่างดีที่สุด” รองศาสตราจารย์ ดร.พินิติ รตะนานุกูล กล่าวทิ้งท้าย ทางด้านดร.อาทิตยา ปัญญา ผู้อำนวยการศูนย์บริหารงานการพัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ กล่าวถึงบทบาทของ กระทรวงศึกษาธิการ และ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ในครั้งนี้ “กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานที่ส่งเสริมการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยกำหนดนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ เพื่อรองรับการพัฒนาและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้นำนโยบายและแผนปฏิบัติการต่าง ๆ มาดำเนินการเพื่อพัฒนาโดยเฉพาะด้านขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศที่ยังอยู่ในระดับที่ต้องพัฒนาให้มีมาตรฐานเทียบเท่าระดับมาตรฐานสากล เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยเฉพาะด้านการจัดการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ที่ต้องพัฒนา เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์เพื่อผลิตและพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีความสามารถในระดับสากล สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและพัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) และสถาบันอุดมศึกษา พัฒนาครูและนักเรียน โดยจัดตั้งศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนที่มีศักยภาพ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อดำเนินการอบรมนักเรียนจากทั่วทุกภูมิภาค ให้มีโอกาสเข้ารับการพัฒนาศักยภาพให้มีมาตรฐานระดับสากล ปัจจุบันมีศูนย์ สอวน. ค่าย 1 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา คณิตศาสตร์และคอมพิวเตอร์ จำนวน 128 โรงเรียน กระจายอยู่ทั่วทุกภูมิภาค ทั้งนี้คุณครูที่เข้ารับการพัฒนามาจากโรงเรียนทุกประเภทและทุกขนาด เพื่อโอกาสในการเข้าถึงความรู้ตามแนวทางหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ โดยการอบรมพัฒนาครูจะเน้นภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างเข้มข้น รวมทั้งการติดตามผลการนำความรู้ที่ได้รับการอบรมพัฒนาไปจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการได้อย่างถูกต้องตามหลักการผลจากการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรโอลิมปิกวิชาการ พบว่า มีนักเรียนสอบผ่านเข้าค่าย 1 สอวน. จากทั่วทุกภูมิภาค ทุกขนาด โดยเฉพาะโรงเรียนที่อยู่ในพื้นที่ชายขอบและถิ่นทุรกันดารก็สามารถพัฒนามาตรฐานโดยผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย 1 ได้มากขึ้นทุก ๆ ปี ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายด้านการลดความเหลื่อมล้ำในด้านการจัดการศึกษา และในปี พ.ศ. 2565 มีนักเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้แทนประเทศไทยไปแข่งขันโอลิมปิกวิชาการระหว่างประเทศ ในวิชาต่าง ๆ จำนวนทั้งสิ้น 31 คน โดยทุกคน ได้รับรางวัล ดังนี้ รางวัลเหรียญทอง จำนวน 6 คน รางวัลเหรียญเงิน จำนวน 11 คน รางวัลเหรียญทองแดง จำนวน 7 คนเกียรติคุณประกาศ จำนวน 6 คน และรางวัลพิเศษ จำนวน 1 คน (Poster Awards) การดูแลนักเรียนที่เข้าร่วมการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับ มูลนิธิส่งเสริมโอลิมปิกวิชาการและ พัฒนามาตรฐานวิทยาศาสตร์ศึกษา ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ (สอวน.) และสถาบันอุดมศึกษา ดูแลนักเรียนที่ผ่านการคัดเลือกเข้าค่าย โดยการให้การสนับสนุนงบประมาณด้านอาหารและที่พักรวมทั้งการดูแลนักเรียนที่อยู่ในค่ายเน้นการพัฒนาในทุกมิติรวมทั้งด้านความปลอดภัยโดยอำนวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้นักเรียนสามารถเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติการเติมเต็มประสบการณ์ด้านต่าง ๆ ให้นักเรียนแต่ละคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ รวมทั้งการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข มุ่งเน้นคุณธรรมและจริยธรรมสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ยังคงมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนและครูทั่วทุกภูมิภาค เพื่อยกระดับมาตรฐานการจัดการศึกษาด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและลดความเหลื่อมล้ำในการจัดการศึกษาให้แก่เด็กที่อยู่ในภูมิภาคที่มีความแตกต่างกัน” ศาสตราจารย์ ดร.ปรินทร์ ชัยวิสุทธางกูร คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้กล่าวถึงความพร้อมของสถานที่ในการจัดการแข่งขันฯ ว่า “มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีความพร้อมในการต้อนรับผู้เข้าร่วมแข่งขันจากทั้ง 55 ประเทศ โดยแต่ละประเทศส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน 6 คน รวมทั้งมีครูผู้คุมทีมประเทศละ 3 คน รวมเป็น 9 คนจากแต่ละประเทศ และในเบื้องต้นข้อสอบปฏิบัติการ ทางคณาจารย์ของคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ถือเป็นผู้ออกข้อสอบหลัก ตอนนี้ได้ทำการออกข้อสอบไปถึง 80% แล้ว ทั้งนี้เพื่อให้มั่นใจว่า ข้อสอบมีมาตรฐานในระดับนานาชาติ และในเรื่องของห้องปฏิบัติการตอนนี้มีการเตรียมความพร้อมโดยทำการปรับปรุงห้อง lab ให้มีมาตรฐานในระดับนานาชาติ ได้รับการสนับสนุนจากท่านอธิการบดี มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รศ.ดร.สมชาย สันติวัฒนกุล รวมทั้งท่านรองอธิการบดีอีกหลายท่านที่ได้ร่วมผลักดันสนับสนุนจนกระทั่งได้ห้องปฏิบัติการที่มีความพร้อมในการจัดการแข่งขัน เพื่อให้มีความพร้อมที่จะจัดการแข่งขัน แต่ในส่วนของข้อสอบบรรยายนอกจากทางมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒที่เป็นผู้ออกข้อสอบแล้ว ยังได้รับความอนุเคราะห์จากมหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในการร่วมกันออกข้อสอบ มีความพร้อมได้ถึง 80% แล้วเช่นเดียวกัน และนี่คือความพร้อมทางฝั่งของการเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันฯ ในครั้งนี้” และสุดท้ายนี้ได้รับเกียรติจาก President IJSO E. H.M.H. Emiel de Klejin National Coordinator Olympiad Netherlands ที่ได้มากล่าวถึงบทบาทของ IJSO และความร่วมมือกับประเทศไทยในครั้งนี้ว่า “ประเทศไทยเริ่มเข้าร่วมการแข่งขันโอลิมปิกนานาชาติตั้งแต่ปี ค.ศ. 1989 โดยในการแข่งขันคณิตศาสตร์โอลิมปิก และปัจจุบันเข้าร่วมทั้งหมด 9 โอลิมปิก และยังได้เป็นเจ้าภาพโอลิมปิกนานาชาติแล้วถึง 9 ครั้ง ตั้งแต่การเริ่มต้น IJSO ในปี 2004 ที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งประเทศไทยก็ได้เข้าร่วม IJSO มาทุกครั้ง IJSO เป็นการแข่งขันทางวิชาการโดยมีการบูรณาการการสอบทางด้านชีววิทยา เคมี และฟิสิกส์ ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติการ โดยข้อสอบได้มีการออกแบบมาเพื่อวัดความเข้าใจทางด้านแนวคิด ต่าง ๆ และความสามารถในการประยุกต์ใช้แนวความคิดต่างๆ ต่อสถานการณ์ที่ได้กำหนดไว้ในโจทย์ข้อสอบทฤษฎีเป็นการทำงานแบบเดี่ยว แต่ข้อสอบปฏิบัติการเป็นการทำงานแบบเป็นทีม ความรู้ย่อมสำคัญในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แต่ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในทีมหลากหลายสาขาวิชาก็สำคัญเช่นกัน โดยทักษะทั้ง 2 ด้านมีบทบาทที่สำคัญในการแข่งขัน IJSO ทำให้การแข่งนั้นนี้มีความพิเศษเมื่อเทียบกับการแข่งขันอื่น ๆ เพราะการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์ การทำงานเป็นทีม และการทดลองทางวิทยาศาสตร์คือหลักในการแข่งขันทางวิชาการนี้ อีกวัตถุประสงค์ของ IJSO ซึ่งมีความสำคัญไม่แพ้กับวัตถุประสงค์ด้านวิชาการ ก็คือการสนับสนุนให้เยาวชนได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมที่หลากหลาย เพิ่มปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนทั่วโลก ให้มีเพื่อนจากต่างประเทศตั้งแต่ยังอายุน้อย มีบทบาทความสำคัญทั้งในสังคมวิทยาศาสตร์และการพัฒนาส่วนตัว อีกทั้งยังมีศักยภาพในการนำไปสู่สันติภาพของโลกและการเข้าใจกันและกัน วัตถุประสงค์ 2 อย่างนี้ ทำให้งาน IJSO เป็นเหตุการณ์ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตสำหรับผู้เข้าร่วมการแข่งขันแบบนี้ โดยมีความร่วมมือกันข้ามขอบเขตประเทศ ช่วยส่งเสริมผู้ที่มีความสามารถพิเศษ ซึ่งเป็นสิ่งที่เราต้องการอย่างยิ่งในโลกปัจจุบัน ทั้งนี้ ทุกท่านสามารถติดตามข่าวสารการจัดการแข่งขันวิทยาศาสตร์โอลิมปิกระหว่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ครั้งที่ 20 ประจำปี พ.ศ. 2566 พร้อมร่วมส่งกำลังใจให้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นตัวแทนประเทศไทยได้ที่เฟซบุ๊ก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
“แคมป์เด็กหัวการค้า” ปีที่ 11 ปลุกพลังสตาร์ทอัพรุ่นเยาว์ ทีม “หวานเจี๊ยบ” คว้าแชมป์ด้วยนวัตกรรมแปรงสีฟัน Bio Sensor ตอกย้ำความสำเร็จโครงการบ่มเพาะผู้ประกอบการรุ่นใหม่