มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 tui sakrapeeDecember 27, 2024 วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล (มหิดลอินเตอร์) เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี หลักสูตรนานาชาติ รอบที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2565-2566 จำนวน 17 หลักสูตรทางออนไลน์ ระหว่างวันที่ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โดยมีรายละเอียดดังนี้ หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต (BACHELOR… โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) มหาวิทยาลัยศิลปากร เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 มาตรฐานหลักสูตรการโรงแรมจากประเทศฝรั่งเศส ได้ฝึกปฏิบัติจริงจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ ได้ใช้อุปกรณ์การเรียนการสอนตามมาตรฐานสากล สิ่งอำนวยความสะดวกทันสมัย พร้อมกับโอกาสดูงานและฝึกงานทั้งในและต่างประเทศ… สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระเดช เจียรสุขสกุล ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงการผลิตและจำหน่ายสื่อหลักและสื่อเสริมของ สสวท.ประจำปี 2568 กับนายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. พร้อมทั้งแถลงข่าวเรื่อง ความร่วมมือเดินหน้าการผลิตหนังสือเรียนและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ประจำปี 2568 โดยมีนางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.และ นายภกร รงค์นพรัตน์ รองผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค.… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… นักศึกษา Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาม.ซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ประทับใจ สวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา tui sakrapeeDecember 27, 2024 Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ พร้อมสวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญภัส อู่ตะเภา คณบดีวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ พร้อมด้วยผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษาทุนแลกเปลี่ยนโครงการบินลัดฟ้าไปประเทศเกาหลีใต้ รุ่นที่ 2 ร่วมให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และพิธีมอบใบประกาศนียบัตรฯ… รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) มหาวิทยาลัยศิลปากร เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 มาตรฐานหลักสูตรการโรงแรมจากประเทศฝรั่งเศส ได้ฝึกปฏิบัติจริงจากคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ ได้ใช้อุปกรณ์การเรียนการสอนตามมาตรฐานสากล สิ่งอำนวยความสะดวกทันสมัย พร้อมกับโอกาสดูงานและฝึกงานทั้งในและต่างประเทศ… สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระเดช เจียรสุขสกุล ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงการผลิตและจำหน่ายสื่อหลักและสื่อเสริมของ สสวท.ประจำปี 2568 กับนายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. พร้อมทั้งแถลงข่าวเรื่อง ความร่วมมือเดินหน้าการผลิตหนังสือเรียนและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ประจำปี 2568 โดยมีนางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.และ นายภกร รงค์นพรัตน์ รองผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค.… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… นักศึกษา Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาม.ซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ประทับใจ สวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา tui sakrapeeDecember 27, 2024 Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ พร้อมสวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญภัส อู่ตะเภา คณบดีวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ พร้อมด้วยผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษาทุนแลกเปลี่ยนโครงการบินลัดฟ้าไปประเทศเกาหลีใต้ รุ่นที่ 2 ร่วมให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และพิธีมอบใบประกาศนียบัตรฯ… รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 EZ WebmasterDecember 25, 2024 รองศาสตราจารย์ ดร.ธีระเดช เจียรสุขสกุล ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงการผลิตและจำหน่ายสื่อหลักและสื่อเสริมของ สสวท.ประจำปี 2568 กับนายพัฒนะ พัฒนทวีดล รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รักษาการแทนผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค. พร้อมทั้งแถลงข่าวเรื่อง ความร่วมมือเดินหน้าการผลิตหนังสือเรียนและสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา ประจำปี 2568 โดยมีนางสาวสุพรรณี ชาญประเสริฐ ผู้ช่วยผู้อำนวยการ สสวท.และ นายภกร รงค์นพรัตน์ รองผู้อำนวยการองค์การค้าของ สกสค.… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้…
สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้…
Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาม.ซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ ประทับใจ สวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา tui sakrapeeDecember 27, 2024 Welcome to SSRU ต้อนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยซิลลา สาธารณรัฐเกาหลีใต้ พร้อมสวมชุดไทยสุดชิค เรียนรู้วัฒนธรรมและภาษา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์กัญภัส อู่ตะเภา คณบดีวิทยาลัยนิเทศศาสตร์ พร้อมด้วยผู้บริหาร บุคลากร และนักศึกษาทุนแลกเปลี่ยนโครงการบินลัดฟ้าไปประเทศเกาหลีใต้ รุ่นที่ 2 ร่วมให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น และพิธีมอบใบประกาศนียบัตรฯ… รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
รวมคำถามยอดฮิตสำหรับเตรียมสอบสัมภาษณ์เข้าทำงาน EZ WebmasterDecember 25, 2024 คำถามสัมภาษณ์งาน เรื่องข้อมูลทั่วไปและการเตรียมตัว คุณช่วยเล่าเรื่องตัวเองให้ฟังหน่อยได้ไหม? คุณช่วยแนะนำประสบการณ์ของคุณที่เกี่ยวข้องกับตำแหน่งนี้อย่างละเอียดได้ไหม? จุดแข็งของคุณคืออะไร ที่คิดว่าจะสามารถทำงานในตำแหน่งนี้ได้ดีเหนือกว่าผู้สมัครคนอื่น? คุณมีประสบการณ์ทำงานไหม? ช่วยอธิบายด้วยว่า ทำไมคุณสนใจในตำแหน่งงานนี้? อะไรเป็นแรงบันดาลใจที่ทำให้คุณมาสมัครงานที่นี่โดยเฉพาะ? ส่วนไหนของงานนี้ที่มีอิทธิพลในการที่คุณตัดสินใจอยากทำงานกับเรา? คุณมีจุดมุ่งหมายแบบสั้น และยาวยังไงบ้าง? ช่วยอธิบายว่า คุณรู้อะไรเกี่ยวกับบริษัทนี้บ้าง? คุณต้องการเงินเดือนเท่าไหร่? ทราบได้อย่างไรว่าทางเรากำลังเปิดรับสมัครอยู่? คุณจินตนาการถึงที่ทำงานในฝันยังไงบ้าง?… สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี… ทุนดีดี มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด EZ WebmasterDecember 25, 2024 สรุปประเด็นและความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่คิดว่าเสี่ยงตกงานมากที่สุด . สวัสดีค่ะทุกคนวันนี้ชาว Edozones ได้รวบรวมความคิดเห็นจากชุมชนเพจเฟสบุ๊ค ว่าคณะที่เราคิดว่าเรียนจบไปแล้วอาจจะเสี่ยงตกงาน หรือ คณะ / สาขา ไหนที่จะว่างงานมากที่สุด จากโพล์ลสำรวจความคิดเห็นด้านล่างนี้ https://www.facebook.com/100064593707802/posts/985793723583742/?mibextid=wwXIfr&rdid=HHZf4y4titvMVuBI# โดยทางเราได้รวบรวมความคิดเห็นที่เป็นไปในทางเดียวกัน และ มากที่สุด โดยแยกออกเป็นหัวข้อดังนี้… SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี…
SPU จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 เน้นย้ำการเรียนรู้ตลอดชีวิต ปรับตัวยุค AI หัวใจสำคัญสู่ความสำเร็จ EZ WebmasterDecember 25, 2024 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จัดพิธีประสาทปริญญาบัตร ประจำปีการศึกษา 2566 ณ บัวหลวงแกรนด์รูม ชั้น 5 อาคาร ดร.สุข พุคยาภรณ์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม กทม. (บางเขน) ระหว่างวันที่ 21-23 ธันวาคม 2567 โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.ครรชิต มาลัยวงศ์ ราชบัณฑิต นายกสภามหาวิทยาลัยศรีปทุม เป็นประธานในพิธีและมอบปริญญาบัตรแก่ผู้สำเร็จการศึกษา และ ดร.รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดี…
มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยในจังหวัดภาคใต้ tui sakrapeeDecember 21, 2024 มหาวิทยาลัยเกริก ร่วมกับ องค์กรภาคีเครือข่าย มอบทุนการศึกษาดีๆ ต้อนรับปี 2568 ทุน UD Scholarship ปีที่ 2 จำนวน 200 ทุน แก่เยาวชนไทยที่มีภูมิลำเนาในจังหวัดภาคใต้ ประเภททุนการศึกษา • ทุนพลเอกสุรยุทธ์… หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
หนุนเด็กไทยสู่อุตสาหกรรมอวกาศ รับทุนเรียนต่อ ป.โท-เอก ฟรี จบแล้วไม่ต้องใช้คืน tui sakrapeeDecember 14, 2024 คณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เปิดโอกาสเด็กไทย ก้าวสู่บุคลากรในอุตสาหกรรมอวกาศ เปิดให้ทุนการศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ด้านเทคโนโลยีการบินและอวกาศ วิศวกรรมศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ที่สาธารณรัฐประชาชนจีน เรียนจบไม่มีข้อผูกมัด ไม่ต้องใช้ทุนคืน นายเวทางค์ พ่วงทรัพย์ เลขาธิการคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สดช.) เปิดเผยว่า สดช.ในฐานะหน่วยประสานงานกลางของประเทศไทย ภายใต้กรอบความร่วมมือองค์การความร่วมมือด้านอวกาศแห่งเอเชียแปซิฟิก (Asia-Pacific… ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน… ครู-อาจารย์ CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ก.พ.เปิดให้ 16 ทุนรัฐบาล สำหรับผู้ที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ tui sakrapeeDecember 10, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลเพื่อดึงดูดผู้มีศักยภาพสูงที่กำลังศึกษาอยู่ในสถาบันการศึกษาในประเทศ ประจำปี 2568 จำนวน 16 ทุน คุณสมบัติผู้สมัคร ผู้ที่กําลังจะศึกษาชั้นปีสุดท้ายระดับ ป.ตรี ของสถาบันการศึกษาในประเทศปีการศึกษา 2568 อายุไม่เกิน 25 ปี นับถึงวันที่ปิดรับสมัคร (26… สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
สำนักงาน ก.พ.เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับ 150 ทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา tui sakrapeeDecember 7, 2024 สำนักงาน ก.พ. เปิดรับสมัครคัดเลือกบุคคลเพื่อรับทุนรัฐบาลฯ (ทุนบุคคลทั่วไประดับปริญญา) ประจำปี 2568 ตั้งแต่บัดนี้ – 26 ธันวาคม 2567 ข้อมูลภาพรวมทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ทุนรัฐบาลประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ประกอบด้วย ทุนสำหรับบุคคลทั่วไประดับปริญญา ที่จัดสรรโดยสำนักงาน…
CNN จับตา นวัตกรรมล่าสุดจากนักวิจัยไทย พลิกโฉมการตรวจคัดกรองความเครียดด้วย “เหงื่อ” EZ WebmasterDecember 24, 2024 นวัตกรรมการแพทย์ครั้งสำคัญของประเทศไทยได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติ เมื่อ CNN สื่อให้ความสนใจสัมภาษณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. ชฎิล กุลสิงห์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ อาจารย์ ดร.แพทย์หญิง ภัทราวลัย สิรินารา ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์… วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
วิศวะ จุฬาฯ และ CBiS ร่วมกับกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ จัดหลักสูตรพัฒนาศักยภาพบุคลากร ผลักดัน SMEs มุ่งสู่เป้าหมาย Carbon neutrality และ Net zero EZ WebmasterDecember 23, 2024 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสถาบันคาร์บอนเพื่อความยั่งยืน (Carbon Institute for Sustainability: CBiS) ร่วมกับ กรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม (Department of Climate Change and Environment: DCCE) จัดทำหลักสูตรประกาศนียบัตร การผลิต การบริการ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน (Sustainable Consumption,… ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก… กิจกรรม ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
ประเด็นดราม่าการศึกษาไทย #ปี2567 EZ WebmasterDecember 23, 2024 ใกล้สิ้นปีอย่างงี้ EDUZONES จะมาสรุปประเด็นที่น่าสนใจและเป็นประเด็นร้อนแรงของการศึกษาในปีนี้กันดีกว่า . ประเด็นแรก การประกาศเลื่อนสอบของ ทปอ. ถือว่าดราม่านี้ เป็นประเด็นร้อนแรงที่เรียกได้ว่า ติดเทรนด์ทวิตข้ามวันกันเลยทีเดียว จากกรณีเหตุการณ์น้ำท่วมภาคใต้เลยทำให้วันทีั่ 1 ธันวาคม 2567 ที่ผ่านมาที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยได้ออกประกาศให้เลื่อนสอบ จากกกำหนดการเกิด 7 –… ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก…
ว.การแพทย์แผนตะวันออก ม.รังสิต นำร่อง ผลิตสบู่สมุนไพร “Sunny Soap” ทางเลือกรักษาโรคสะเก็ดเงิน ลดการนำเข้ายาจากต่างประเทศ EZ WebmasterDecember 23, 2024 อาจารย์วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และทีมวิจัย นำร่องผลิตสบู่รักษาโรคสะเก็ดเงิน “Sunny Soap” เปิดโอกาสให้ผู้ที่เป็นโรคผิวหนังเรื้อรัง และโรคสะเก็ดเงิน ได้มีโอกาสเลือกใช้ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ ปลอดภัยจากสารเคมี และยังช่วยลดการนำเข้ายารักษาโรคผิวหนังเรื้อรัง โรคสะเก็ดเงินจากต่างประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับระบบสาธารณสุขของประเทศไทย แพทย์แผนไทยภาวิณี เส็งสันต์ อาจารย์ประจำหลักสูตรการแพทย์แผนไทยบัณฑิต วิทยาลัยการแพทย์แผนตะวันออก และแพทย์แผนไทย ประจำสหคลินิกการแพทย์แผนตะวันออก…
ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมเดิน วิ่ง บนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ “BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2” tui sakrapeeDecember 27, 2024 BU RUN 2025 มหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จัดมหกรรมงานวิ่งสร้างสรรค์ปีที่ 2 ชวนนักวิ่งและศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน BU มาร่วมวิ่งหรือเดินบนดินแดนแห่งความคิดสร้างสรรค์ในรั้วมหาวิทยาลัยที่ร่มรื่นกับเส้นทางใหม่บรรยากาศทะเลสาบยามเช้า ร่วมสร้างสุขปันรักให้อบอุ่นหัวใจ มอบรายได้จากกิจกรรมเป็นทุนการศึกษาให้นักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยจัดขึ้นในวันอาทิตย์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2568… มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้ EZ Webmaster Related Posts มหิดลอินเตอร์ เปิดรับนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี 17 หลักสูตร ทางออนไลน์ วันที่ 7 – 20 มกราคม 2568 โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568 สสวท. จับมือ อค. เดินหน้าหนังสือเรียน ปี 2568 สรุปความคิดเห็น #คณะและสาขาไหนที่เสี่ยงตกงานมากที่สุด ก้าวสำคัญของโอกาสทางการศึกษา “มูลนิธิดำรงชัยธรรม” เปิดรับสมัครนักเรียนทุน ปีการศึกษา 2568 Post navigation PREVIOUS Previous post: คณะศิลปศาสตร์ประยุกต์ มจพ. รับสมัครนักศึกษาใหม่สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ และอุตสาหกรรมNEXT Next post: ส่องแผนการเดินหน้า “กองทุน ววน.” ฉบับใหม่ กลไกสร้างประเทศให้ก้าวหน้า กับหัวเรือใหญ่ สกสว. การปรับโฉมครั้งสำคัญที่ “วิจัย นวัตกรรม วิทย์” จะปรับโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคมให้ล้ำยิ่งขึ้น Leave a Reply Cancel replyYour email address will not be published. Required fields are marked * Name* Email* Website Comment* Δ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมกิจกรรมพิเศษ เปิดโอกาสให้นักเรียนและบุคคลทั่วไป เข้าร่วมงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ปลดล็อกความคิด สร้างอนาคตไปด้วยกัน” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดงานเปิดบ้านต้อนรับนักเรียนและบุคคลทั่วไปในงาน SSRU Open House 2024 Unlock Your Mind “ความคิดสร้างอนาคตไปด้วยกัน” 17–18 ธันวาคม 2567 เวลา 08.30 – 16.00 น.… ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย… Search for: Search
ชวนร่วมกิจกรรม “วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN 2025” EZ WebmasterDecember 23, 2024 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์ประสานงาน (มจธ.) พื้นที่จังหวัดน่าน ร่วมกับสภากาชาดไทย และคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรมชวน ” วิ่งเพื่อน้อง BOKLUEA RUN “ ณ โรงเรียนบ้านบ่อหลวง อำเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ในวันอาทิตย์ที่… เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย…
เชฟรอนสนับสนุนงานวิ่ง Saturday School Run 2024 ระดมทุนการศึกษาสู่ฝันเยาวชนไทย ฉลอง 10 ปี มูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ EZ WebmasterDecember 17, 2024 นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร (ที่ 2 จากขวา) ให้เกียรติเป็นประธานเปิดกิจกรรมเดิน-วิ่งการกุศล Saturday School Run 2024 วิ่งด้วยกัน เพื่อฝันน้อง ฉลองครบทศวรรษแรกของมูลนิธิโรงเรียนวันเสาร์ (Saturday School Foundation) ร่วมด้วย…
EZ Webmaster January 31, 2024 EZ Webmaster January 31, 2024 ย้อนดูไทม์ไลน์ “ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย” มีอะไรที่เปลี่ยนเเปลงบ้าง? ย้อนดูวิวัฒนาการ “ระบบการคัดเลือกเข้าสู่มหาวิทยาลัย” เปลี่ยนเเปลงยังไงบ้าง? ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนเเปลงระบบการสอบให้ไปตามกับยุคสมัยเพื่อใช้คัดเลือกนักเรียนมัธยมให้ก้าวเข้าสู่รั้วมหาวิทยาลัย จากยุค “Entrance” สู่ยุค TCAS มีอะไรที่ถูกเปลี่ยนเเปลงไปบ้าง วันนี้ทางเพจ Eduzones จะชวนเพื่อนๆมาย้อนดูวิวัฒนาการการสอบเข้ามหาวิทยาลัยว่ามีความเป็นมาอย่างไรบ้าง เเละเเต่ละยุคต้องเจอกับการสอบรูปเเบบไหนบ้าง ระบบการคัดเลือกนักศึกษาเข้าสู่มหาวิทยาลัย เปลี่ยนระบบมาทั้งหมด 5 ครั้ง มีอะไรบ้าง? 1.ระบบ Entrance ยุคเเรก ปี (2504-2542) ระบบการสอบยุคเเรกที่ยังไม่มีหน่วยงานกลางเข้ามาดูเเลเป็นทางการ เเต่เกิดจากความร่วมมือกันของเเต่ละมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนในยุคนั้น จัดขึ้นมากันเอง เพื่อเเก้ปัญหาเรื่องของนักเรียนต้องเสียค่าใช้จ่ายสมัครสอบเเต่ละที่หลายครั้ง โดยมีสภาการศึกษาเเห่งชาติเป็นผู้ประสานงาน รูปแบบการสอบยุคนี้ เปิดให้นักเรียนเลือกคณะที่สนใจเข้าศึกษาได้ 4 อันดับ (ภายหลังปี 2516 เปลี่ยนเป็น 6 อันดับ) จากนั้นก็เข้าสอบ เอ็นทรานซ์ โดยใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์ 100% ไม่ต้องใช้เกรดเฉลี่ยในโรงเรียนเเละสามารถสอบเทียบได้ หากมีความรู้ความสามารถ ซึ่งเป็นการสอบเเบบครั้งเดียว หากไม่ติดต้องรอสอบใหม่ปีหน้า 2.ระบบ Entrance ยุคใหม่ ปี (2542-2548) โดยเปิดให้สอบ เอ็นทรานซ์ 2 ครั้งคือ ช่วงเดือนตุลาคม เเละเดือนมีนาคม เพื่อให้นักเรียนได้รู้คะเเนนสอบของตัวเองก่อน เเละสามารถเลือกคะแนนครั้งที่ดีที่สุดของตัวเองก่อน เเละสามารถนำคะเเนนที่ดีที่สุดของตัวเองมายื่นได้ สามารถเลือกยื่นได้ 4 อันดับ รวมถึงสัดส่วนคะเเนนที่เปลี่ยนไปจากเดิมใช้คะเเนนสอบ เอ็นทรานซ์100% ในยุคนี้ได้มีการเพิ่มวิธิคิดสัดส่วนคะเเนนใหม่ โดยใช้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) มาร่วมคิดคะเเนนด้วย ประมาณ 10% 3.ระบบ Admissions : O-NET, A-NET ปี (2549-2552) ในยุคต่อมา ระบบ Admissions ก็ได้มีการยกเลิกระบบเอ็นทรานซ์เข้าสู่ยุคระบบกลางการรับนิสิต ที่เรียกว่า “Admissions” เเทน เเละได้มีการเพิ่มรูปเเบบข้อสอบเเบบใหม่ขึ้นมาในชื่อ O-NET เเละ A-NET เข้ามาเป็น 1 ในสัดส่วนการคิดคะเเนนในยุคนี้ ซึ่งสัดส่วนคะเเนนนั้น ประกอบด้วยเกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย (GPAX) 30% รวมกับคะเเนน O-NET เเละ A-NET การสอบ O-NET จะเป็นการสอบขั้นพื้นฐานทั่วไป 8 วิชา สำหรับนักเรียนมัธยมปลาย สอบได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ส่วน A-NET จะเป็นข้อสอบเสริมที่จะมีความยากขึ้นกว่า O-NET เน้นด้านการคิดวิเคราะห์มากขึ้นอีก 5 วิชา เเต่ A-NET สามารถสอบได้มากกว่า 1 ครั้งและสามารถเลือกคะเเนนครั้งที่ดีที่สุดได้ 4.ระบบ Admissions : GAT/PAT ปี (2553-2560) หลังจากถูกตั้งคำถามในเรื่องมาตรฐานของข้อสอบ A-NET ที่ทำให้หลายมหาวิทยาลัยหันมาเปิดรับตรงมากขึ้น ก็ได้มีการยกเลิกการสอบ และปรับมาใช้ข้อสอบแบบใหม่ซึ่งเป็นการสอบวิชาความถนัดในด้านต่าง ๆ หรือที่คุ้นหูกันว่า GAT/PAT โดย GAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป ส่วน PAT จะเป็นการทดสอบความถนัดทางด้านวิชาชีพ เปิดให้สอบได้ 2 – 3 ครั้งแล้วแต่ปี ซึ่งสัดส่วนคะแนนยังคงมีคะแนน O-NET มาคิด 30% รวมกับ GPAX 20% และคะแนน GAT/PAT ครั้งที่ดีที่สุดประมาณ 50 % ซึ่งแล้วแต่คณะ แล้วแต่มหาวิทยาลัยจะกำหนด ต่อมาในปี 2555 ทางกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย หรือ กสพท. ให้ความเห็นว่าการสอบ GAT/PAT นั้นไม่ตอบโจทย์การคัดเลือกนักเรียกจริง ๆ จึงได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยต่าง ๆ จัดสอบ 7 วิชาสามัญ รวมถึงระบบ ‘เคลียริงเฮาส์’ เพิ่มเข้ามาในปีนี้ เพื่อลดปัญหาเด็ก ๆ สอบติดแต่กั๊กที่เรียนกัน กระทั่งปี 2558 ได้มีการปรับลดวิชาในข้อสอบ O-NET ลงจาก 8 วิชาเหลือ 5 วิชา โดยตัดวิชาศิลปะ, พลศึกษา, สุขศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีออก แต่พอในปี 2559 แม้จะลดวิชา O-NET ลงไปแล้ว แต่ก็ได้เพิ่มการสอบจาก “7 วิชาสามัญ” เป็น “9 วิชาสามัญ” แทน โดยได้มีการเพิ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กสายศิลป์เพิ่ม 5.ระบบ TCAS ปี (2561-2564) ระบบล่าสุดที่ใช้อยู่ปัจจุบันนี้ ได้มีการเลิกใช้คำว่า “Admission” เปลี่ยนมาเรียกว่าระบบ Thai University Central Admission System หรือ TCAS แทน ซึ่งรูปแบบการสอบในยุคนี้ ได้เลื่อนการสอบทั้งหมดมาสอบช่วงหลังจบ ม.6 ทั้งหมด และลดการสอบทั้งหมดเหลือเพียงอย่างละครั้งเดียว โดยมีการเปิดรับสมัครทั้งหมด 5 รอบ ได้เเก่ รอบที่ 1 ยื่นด้วยเเฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) ไม่มีการสอบข้อเขียน เเละให้ทางมหาวิทยาลัยคัดเลือกเด็กโดยตรง รอบที่ 2 รับเเบบโควต้า (Quota) เหมาะสำหรับเด็กที่อยู่ในพื้นที่/ภาคที่มีโควต้าโรงเรียน เเละโครงการความสามารถพิเศษ รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน เลือกได้ 4 สาขา โดยไม่มีลำดับ (อาจจะผ่านได้ทั้งหมด 4 อันดับ เเล้วเลือกสาขาที่ต้องการ) รอบที่ 4 การรับเเบบเเอดมิชชั่น เลือกได้ 4 สาขา โดยมีลำดับคล้ายกับระบบ Admission เดิม รอบที่ 5 รับตรงเเบบอิสระ บางเเห่งอาจจะเรียกว่ารอบเก็บตก คัดเลือกโดยสถาบัน/มหาวิทยาลัย โดยตรงเป็นการเพิ่มโอกาสให้เด็กมีที่เรียนในสถาบันที่ต้องการเพิ่มมากขึ้น จนถึงปี 2564 ได้มีการยุบรอบการคัดเลือดเหลือ 4 รอบ โดยมีเกณฑ์รอบรับตรงร่วมเเละรอบเเอดมิชชั่นเหมือนเดิม เเต่เปิดให้ยื่นคะเเนนพร้อมกัน นักเรียนสามารถเลือกได้สูงสุด 10 อันดับ มีการประกาศผล 2 ครั้ง เพื่อเปิดโอกาสให้เด็กสละสิทธ์ เเละมีการประมวลผลเรียกตัวสำรอง ให้มีสิทธิ์เข้าศึกษาได้ อย่างไรก็ตาม ระบบนี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงที่ยิบย่อยอีกเช่นกัน โดยในการรับเข้าปี 2564 มีการเปลี่ยนแปลงจากรับ 5 รอบ เหลือเพียง 4 รอบ โดยเอารอบ 3 และ 4 เข้ามาไว้รวมกัน แต่ยังคงใช้เกณฑ์ที่แตกต่างกันเช่นเดิม เสมือนเป็นการให้สิทธิ์ยื่นคะแนน 2 ครั้ง ใน 1 รอบ แม้ว่าระบบ TCAS ที่ใช้อยู่นี้จะมีอายุเพียงแค่ 5 ปีก็ตาม แต่ท้ายที่สุดแล้วก็ได้มีการปรับเกณฑ์ครั้งสำคัญอีกครั้ง กลายเป็น TCAS 2.0 โดยจะเริ่มใช้ในปีการศึกษา 2566 วัตถุประสงค์ในการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้คือ ? ลดความซ้ำซ้อนของรายวิชาสอบ เน้นการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งาน โดยเนื้อหาจะออกไม่เกินหลักสูตร เปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT/วิชาสามัญ เป็น TGAT/TPAT/A-Level แทน มีให้เลือกสอบผ่านคอมพิวเตอร์ หรือกระดาษ อย่างใดอย่างหนึ่ง คะแนนเต็ม 100 คะแนน เท่ากันทุกวิชา TCAS66 ได้มีการเปลี่ยนจากการสอบ GAT/PAT เป็น TGAT/TPAT โดย TGAT มีเนื้อหาประกอบไปด้วย การสื่อสารภาษาอังกฤษ การคิดอย่างมีเหตุผล และสมรรถนะการทำงานในอนาคต เต็ม 300 คะแนน ส่วน TPAT จะมีความคล้าย PAT เเต่จะตัดให้เหลือเพียง วิชาสถาปัตยกรรม (PAT4) ครุศาสตร์ (PAT5) ศิลปกรรมศาสตร์ (PAT6) เเละได้เพิ่มวิชา กสพท เเละวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เเละวิศวกรรม เข้ามา โดยเเต่ละวิชามีคะเเนนเต็ม 100 คะเเนน ส่วนด้าน 9 วิชาสามัญก็มีการเปลี่ยนเเปลงรูปเเบบด้วย หรือเรียกว่า A-Level โดยส่วนนี้มีการเปลี่ยนแปลงไม่เยอะมาก เเค่ปรับเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักสูตรในห้องเรียน เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศอื่นๆ หรือ PAT7 เดิมเข้ามา เเละได้มีการรวบวิชาคณิตสาสตร์ 1 เเละ 2 เข้ามาอยู่รวมกัน เเต่สามารถที่จะเลือกทำเเค่ส่วนใดส่วนหนึ่งได้ นอกจากเปลี่ยนเเปลงวิชาที่สอบเเล้ว เกณฑ์รับเข้ายังคงเหมือนระบบก่อนหน้านี้ที่ได้มีการอัปเดตในปี 2564 เเต่ก็ไม่สามารถระบุได้ว่าระบบดังกล่าวนี้จะถูกใช้ต่อไปอีกนานเเค่ไหน ยังไงนักเรียนที่ต้องการเข้าศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย ต้องรอติดตามเเละทำความเข้าใจกับกฎเกณฑ์ระบบคัดเลือกเข้าศึกษาอยู่อย่างสม่ำเสมอ เพื่อไม่ให้พลาดจากคณะเเละสาขาที่ตัวเองฝันไว้
โรงเรียนเตรียมการโรงแรมและการท่องเที่ยวไทย-ฝรั่งเศส (Franco-Thai Hotel & Tourism Prep School) เปิดรับนักศึกษาหลักสูตร ปวช. สาขาการโรงแรม ปีการศึกษา 2568