รมว.ศธ. ฝากผู้ปกครองรอคำตอบ ชี้ยังไม่เคาะยกเลิก “โอเน็ต” หรือไม่

เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2563 ที่ผ่านมา รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (รมว.ศธ.) นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ เปิดเผยว่า ตามที่ตนได้มอบหมายให้ นายสุภัทร จำปาทอง ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ปลัด ศธ.) ไปหารือกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ถึงแนวทางการจัดทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ตนั้น ขณะนี้ปลัด ศธ.ยังไม่ได้มีข้อสรุปกลับมาว่าจะยกเลิกหรือไม่ยกเลิกการสอบโอเน็ต ซึ่งขณะนี้ทางสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) กำลังศึกษาอยู่ และก็ยังไม่ได้รายงานกลับมาที่ตน ส่วนในประเด็นที่ ขณะนี้ได้มี ผอ.โรงเรียนบางแห่ง แจ้งกับทางผู้ปกครองนักเรียนแล้วว่าจะมีการยกเลิกการสอบโอเน็ตนั้น…

ปิระมิดแห่งการเรียนรู้ (Learning Pyramid) จากผลของงานวิจัยของ NTL Institute

ปิระมิดแห่งการเรียนรู้ (Learning Pyramid) จากผลของงานวิจัยของ NTL Institute 1. การเรียนในห้องเรียน (Lecture) การเรียนแบบนั่งฟังบรรยายผลที่ได้รับนั้นนั่งฟังบรรยาย จะจำได้เพียง 5 % การเรียนแบบนี้คนเรามักจะลืมไปมันไปในไม่ช้าแต่เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด แม้ว่าจะก็ได้ผลที่น้อยที่สุด 2. การอ่านด้วยตัวเอง (Reading) การเรียนโดยการอ่าน พบว่าจะจะจำได้เพิ่มขึ้นเป็น 10 % โดยจะช่วยให้รู้และเข้าใจในตอนที่อ่านเท่านั้น ถ้าไม่มีการนำกลับมาทบทวน ความรู้นี้ก็สามารถถูกลืมไปได้ในที่สุด และคุณไม่สามารถจำได้ทั้งหมด 3.การฟังและได้เห็น (Audiovisual) เป็นระดับของการเรียนที่ได้ผลเพิ่มมากขึ้น ช่วยให้จดจำสิ่งที่เรียนได้ดีขึ้นจำได้ 20 %…

ศธ.เดินหน้าแก้ไขระเบียบทรงผมนักเรียน

(26 ตุลาคม 2563) กระทรวงศึกษาธิการ จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาข้อร้องเรียนของนักเรียน นักศึกษา ครั้งที่ 2 ณ ห้องประชุมสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พร้อมแยกประเด็นปัญหาเป็น 3 ส่วน คือ ปัญหาที่เกิดจากตัวระเบียบเอง ปัญหาเรื่องการตีความในตัวระเบียบ และการลงโทษนักเรียนกรณีที่ครูหรือโรงเรียนเห็นว่านักเรียนไม่ได้ทำตามระเบียบ ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวาณิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ (TDRI) ในฐานะประธานคณะกรรมการพิจารณาข้อร้องเรียนของนักเรียน นักศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยหลังการประชุมว่า คณะกรรมการแยกประเด็นที่มีปัญหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ปัญหาที่เกิดจากตัวระเบียบเอง ปัญหาเรื่องการตีความในตัวระเบียบ และการลงโทษนักเรียนกรณีที่ครูหรือโรงเรียนเห็นว่านักเรียนไม่ได้ทำตามระเบียบ…

คณะบริหารธุรกิจ ม.หอการค้าไทยโชว์ศักยภาพสร้างนักธุรกิจตัวจริงสู่ภาคอุตสาหรรม4.0

คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มีความมุ่งมั่นส่งมอบการเรียนการสอนเชิงประยุกต์จากงานวิจัยและประสบการณ์การปฏิบัติงานจริงด้านธุรกิจ เพื่อสร้างผู้นำธุรกิจที่มีความเป็นผู้ประกอบการและมีความรับผิดชอบต่อสังคม สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านบริหารธุรกิจจากงานวิจัยและบริการวิชาการด้วยความร่วมมือกับทุกภาคส่วนเพื่อประโยชน์ของสังคมโดยรวม ล่าสุดได้จัดงาน “I’m marketer @UTCC 2020”โครงการนี้จัดขึ้นมาจากแนวคิดให้นักศึกษาสามารถช่วยแบ่งเบาภาระให้กับครอบครัวได้ โดยการนำธุรกิจที่บ้านนักศึกษามาต่อยอดพัฒนาและสร้างให้เป็นระบบมากขึ้น ภายใต้การเรียนการสอนและเปิดร้านจริง ธุรกิจนั้นก็มีร้านจริงเป็นของตนเอง เพียงแต่ในโครงการนี้จะนำมาเปิดอีกสาขาที่ตั้งอยู่ในบริเวณมหาวิทยาลัยเพื่อที่จะเป็นการสร้างแบรนด์และสร้างสาขาให้เป็นที่รู้จักมากขึ้นให้เกิดการต่อยอดมากกว่าการที่ทำอยู่ที่บ้าน อีกทั้งนักศึกษาเองก็จะได้นำความรู้ที่เรียนมาทั้งหมดและการปฏิบัติงานจริงที่ทำในโครงการไปต่อยอดให้กับธุรกิจของที่บ้านได้ด้วย   ดร.สิริพันธ์ วงศ์อินทวัง อาจารย์ประจำคณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กล่าวว่า “ “โครงการ I’m Marketer @UTCC” มีการคัดเลือกธุรกิจมาก่อนว่าต้องเป็นร้านค้าที่มาจากธุรกิจในครอบครัวหรือของตนเองในกลุ่มนักศึกษา ต่อมาจะดูในเรื่องแนวทางการจัดร้านเพื่อเปิดร้านค้าจริงได้ จากนั้นก่อนที่จะเริ่มตั้งร้านแต่ละทีมมีการนำเสนอรูปแบบร้านที่แตกต่างกันออกไป นอกจากนี้ยังมีการออกแบบเรื่อง Display…

มจพ. คว้าอันดับที่ 8 การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานหน่วยงานภาครัฐ ปี’63

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)  เข้ารับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity & Transparency Assessment : ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยสำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (สำนักงาน ป.ป.ช.)  โดยคะแนนการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสฯ ประเภทอุดมศึกษา ผลคะแนนของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ได้ค่าคะแนน 93.49 มีผลการประเมินระดับ A และได้รับการจัดอันดับที่ 8 จาก 83 สถาบันอุดมศึกษาที่เข้ารับการประเมิน ประกาศ ณ วันที่ 28 กันยายน…

ทำไมต้องเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ

ทำไมต้องเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ 1 รายบุคคล ไม่เหมาโหล 2 มีความสุข ไม่ทนทุกข์เวลาเรียน 3 เรียนเรื่องที่ใช้ ไม่ใช่เรียนครอบจักรวาล แต่ใช้งานไม่ได้ 4 เรียนยืดหยุ่น เพราะต้องดีกว่าหุ่นยนต์ . ฐานคิดของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (หลักสูตรฐานสมรรถนะ) 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล (Personalization) การเป็นเจ้าของการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (Life-long Learning) ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งในเรื่องของศักยภาพ ความพร้อม และความสนใจส่วนตน ซึ่งมีทฤษฎีที่รองรับ เช่น ทฤษฎีพหุปัญญา ทฤษฎีแบบแผนการเรียนรู้ (Learning…

สพร. ร่วมกับ ม.หอการค้าไทย พัฒนาบุคลากรภาครัฐสู่รัฐบาลดิจิทัลเต็มรูปแบบ

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทยร่วมกับสนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. ทำข้อตกลงร่วมกับพัฒนาทักษะดิจิทัลสำหรับข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ เพื่อตอบสนองนโยบายภาครัฐในการพัฒนาทักษะดิจิทัลของข้าราชการ และบุคลากรภาครัฐเพื่อเปลี่ยนเป็นรัฐบาลดิจิทัลได้อย่างสมบูรณ์ คุณไอรดา เหลืองวิไล รองผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน) หรือ สพร. กล่าวว่า รัฐบาลให้ความสำคัญในการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐให้โปร่งใส ทันสมัย มีประสิทธิภาพเพื่อยกระดับขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศในระยะยาว และสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนได้ ปัจจุบันมีจำนวนข้าราชการและบุคลากรภาครัฐจำนวนกว่า 2 ล้านคนที่จำเป็นต้องยกระดับทักษะ (Upskill) และ ปรับทักษะ (Reskill) ซึ่งได้สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐภาคเอกชนและสถาบันการศึกษา เพื่อร่วมพัฒนาศักยภาพข้าราชการและบุคลากรภาครัฐ ได้อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว ซึ่งที่ผ่านมามหาวิทยาลัยหอการค้าได้มีความร่วมมือทางวิชาการ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ…

นิยามและองค์ประกอบของ​ 5​ สมรรถนะที่เด็กไทยควรมี

นิยามและองค์ประกอบของ​ 5​ สมรรถนะที่เด็กไทยควรมีในการปฏิรูป​หลักสูตร​การศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน​#หลักสูตรฐานสมรรถนะ​ ดังนี้คือ​การจัดการตนเอง​ การสื่อสาร​ การรวมพลังทำงาน​เป็น​ทีม​ การ​คิด​ขั้นสูง​ และการเป็น​พลเมือง​ที่​เข้มแข็ง

ทำไมต้องเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ

ทำไมต้องเป็นหลักสูตรฐานสมรรถนะ 1 รายบุคคล ไม่เหมาโหล 2 มีความสุข ไม่ทนทุกข์เวลาเรียน 3 เรียนเรื่องที่ใช้ ไม่ใช่เรียนครอบจักรวาล แต่ใช้งานไม่ได้ 4 เรียนยืดหยุ่น เพราะต้องดีกว่าหุ่นยนต์ . ฐานคิดของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (หลักสูตรฐานสมรรถนะ) 1) ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนรายบุคคล (Personalization) การเป็นเจ้าของการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (Life-long Learning) ผู้เรียนแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้งในเรื่องของศักยภาพ ความพร้อม และความสนใจส่วนตน ซึ่งมีทฤษฎีที่รองรับ เช่น ทฤษฎีพหุปัญญา ทฤษฎีแบบแผนการเรียนรู้ (Learning…