มจพ. เปิดศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ “TFII-Schneider Electric Center of Excellence” แห่งแรกในประเทศ

ศ.ดร.ธีรวุฒิ บุณยโสภณ นายกสภามหาวิทยาลัย ศ.ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นประธานกล่าวเปิดศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการ“TFII-Schneider Electric Center of Excellence” และได้รับเกียรติ H.E. Ambassador Jean-Claude Poimbœuf เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสประจำประเทศไทย พร้อมด้วย ผศ.ดร.พรศักดิ์ ศรีสังสิทธิสันติ ผู้อำนวยการสถาบันนวัตกรรมเทคโนโลยีไทย-ฝรั่งเศส นายมงคล ตั้งศิริวิช ประธานคลัสเตอร์ ชไนเดอร์ อิเล็คทริค ประเทศไทย เมียนมาร์ และลาว ดร.ยศศิริ…

ม.รังสิต ลงนามความร่วมมือกับมหาวิทยาลัย Kyoto Tachibana ประเทศญี่ปุ่น

ฝ่ายญี่ปุ่นสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต ให้การต้อนรับคณะผู้บริหารจาก มหาวิทยาลัย Kyoto Tachibana ประเทศญี่ปุ่น ในการเดินทางมาเยี่ยมเยือน และลงนามความร่วมมือด้านการศึกษา การแลกเปลี่ยนทางวิชาการ ด้านการส่งเสริมการทำวิจัย และเพื่อเสริมสร้างความเข้าใจระหว่างกัน ภายในงานได้รับเกียรติจาก ดร.พิชยพันธุ์ ชาญภูมิดล รองอธิการบดีฝ่ายการต่างประเทศ และ ดร.เชาว์ เต็มรักษ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายญี่ปุ่นสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต ให้การต้อนรับ ณ ห้องประชุม อาคาร Student Center (อาคาร 6) มหาวิทยาลัยรังสิต ดร.เชาว์ เต็มรักษ์ ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายญี่ปุ่นสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า โครงการแลกเปลี่ยนนี้ จะเป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาจากทั้งสองมหาวิทยาลัยสามารถเดินทางไปแลกเปลี่ยนเรียนรู้…
มหาวิทยาลัยศิลปากร รับค่ายศิลป์ปั้นครูครั้งที่ 6 : หมดเขต 11 มีนาคม 2567

มหาวิทยาลัยศิลปากร รับค่ายศิลป์ปั้นครูครั้งที่ 6 : หมดเขต 11 มีนาคม 2567

มหาวิทยาลัยศิลปากร รับค่ายศิลป์ปั้นครูครั้งที่ 6 : หมดเขต 11 มีนาคม 2567 . รายละเอียด ค่ายศิลป์ปั้นครูครั้งที่ 6 ค่ายพักแรมที่มหาวิทยาลัยศิลปากร ที่อาคารเพชรรัตน – สุวัทนา (ยิมใหม่) ค่าสมัครค่าย 790 บาท (ชำระเมื่อประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสมัครแล้ว) . กำหนดการ สมัคร : 26 กุมภาพันธ์ – 11 มีนาคม 2567 ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิเข้าร่วมค่าย…

ม.รังสิต จับมือ สถาบันสิรินธรฯ กรมการแพทย์ MOU พัฒนาวิชาการด้านกายภาพบำบัด

คณะกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยรังสิต ร่วมกับ สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ลงนามความร่วมมือพัฒนาวิชาการด้านกายภาพบำบัด  นายแพทย์ศุภชัย คุณารัตนพฤกษ์ รองอธิการบดีฝ่ายการแพทย์และวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยรังสิต กล่าวว่า การลงนามความร่วมมือครั้งนี้เป็นอีกความร่วมมือหนึ่งที่มหาวิทยาลัยรังสิต และกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้ประสานงานร่วมกัน ที่ผ่านมาทั้งสองสถาบันได้มีความร่วมมือในด้านการศึกษาต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ไม่ว่าจะเป็นความร่วมมือทางด้านการผลิตแพทย์ การผลิตนักศึกษาระดับปริญญาโทของสถาบันโรคผิวหนัง และอื่นๆ รวมถึงความร่วมมือกับคณะกายภาพบำบัดและเวชศาสตร์การกีฬา ในการผลิตนักกายภาพบำบัด หลักสูตรระยะสั้นกายภาพบำบัดเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพระยะกลาง ซึ่งคาดหวังว่าภายใต้การนำของอธิบดีกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข และผู้อำนวยการสถาบันสิรินธรฯ เราจะสามารถพัฒนาความร่วมมือกันให้มากขึ้นและหลากหลายขึ้น โดยกรมการแพทย์มีจุดแข็งมากมายในด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านบุคลากร เครื่องมือ ทางมหาวิทยาลัยรังสิตก็มีจุดแข็งด้านวิชาการ…

มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ก้าวสู่ทศวรรษที่ 7

เมื่อวันศุกร์ ที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๖๗ ทางมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดงานแถลงข่าว ก้าวสู่ทศวรรษที่ 7 ด้วยการเป็น AI – UTCC ภายใต้หัวข้อเสวนา “ AI กับ อนาคตการศึกษา และ การขับเคลื่อนมหาวิทยาลัย ” สถานที่จัดงาน ณ UTCC EVENT LAB ห้องปฏิบัติการ สาขาวิชาการจัดการอีเว้นท์ อาคาร 23 ชั้น 7…

ม.ศรีปทุม ขานรับ Mega Project รัฐบาล เร่งผลิตกำลังคนสมรรถสูงป้อนสู่ภาคอุตสาหกรรม

ม.ศรีปทุม เผยประเทศไทยกำลังขาดกำลังคนสมรรถนะสูง 4 สาขาอาชีพ ได้แก่ วิศวกรระบบราง โลจิสติกส์ซัพพลายเชน การบินและคมนาคม การท่องเที่ยวและบริการ  หลังรัฐบาลเดินหน้าโครงการเมกะโปรเจกต์ เชื่อมโยงระบบ โลจิสติกส์ทั้งทางบก ราง น้ำ และอากาศ ของประเทศ รับเทรนด์เชื่อมระบบคมนาคมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้  ในอนาคตอันใกล้ จะมีความต้องการกำลังคนสมรรถนะสูง สนับสนุนเมกะโปรเจกต์กว่า  200,000 อัตรา   ดัน 4 สาขาอาชีพ ได้แก่ วิศวกรรมศาสตร์ระบบราง โลจิสติกส์และซัพพลายเชน การบินและคมนาคม  การท่องเที่ยวและบริการ เร่งปั้นบัณฑิตป้อนตลาดแรงงาน เป็นสายงานที่ไม่มีโอกาสตกงาน รับค่าตัวสูง หลังจบการศึกษามีบริษัทรอรับเข้าทำงานทันที หรือเพิ่มโอกาสในการทำธุรกิจ และอาชีพอิสระที่หลากหลายสาขา ดร. รัชนีพร พุคยาภรณ์ พุกกะมาน อธิการบดีมหาวิทยาลัยศรีปทุม เปิดเผยว่า…

บัญชี ม.กรุงเทพ ชูจุดเด่นบัญชีดิจิทัล ขานรับยุคเอไอเฟื่องฟู 5.0

คณบดีชี้โอกาสนักบัญชีไทยยังสดใส เป็นที่ต้องการของตลาดอีกมาก เตรียมพร้อมนักศึกษาของคณะบัญชีให้แข่งขันได้ในยุคเอไอเฟื่องฟู เน้นหลักสูตรบัญชีบัณฑิตที่ได้รับการรับรองจากสภาวิชาชีพบัญชีฯ และมีโปรแกรมการพัฒนานักบัญชียุคดิจิทัล ทำให้เป็นนักบัญชีที่สามารถสื่อสารได้กับผู้เกี่ยวข้องทั้งในและนอกองค์กร อีกทั้งยังทำงานร่วมกับบุคลากรด้านไอทีได้อย่างราบรื่นไร้รอยต่อในโลกยุคแห่งเทคโนโลยี พร้อมฝึกงานจริง ลงมือจริง และมีผู้เชี่ยวชาญจากธุรกิจและวงการวิชาชีพบัญชีระดับคุณภาพอย่าง Big 4 มาร่วมสอน และยังได้ศิษย์เก่าผู้บริหารจากภาคธุรกิจและแวดวงวิชาชีพปลื้ม เห็นพัฒนาการการเรียนการสอนของคณะที่สอดคล้องกับสถานการณ์โลกที่เปลี่ยนไป มั่นใจได้บัณฑิตคุณภาพ มีทักษะรอบด้านตอบโจทย์ความต้องการของตลาด กระแสในปัจจุบันที่เปลี่ยนไปของสังคม เน้นไปทางดิจิทัลเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและวิทยาการโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเข้ามาของเอไอ (AI) อย่างไรก็ตาม ดร.กรัณฑรัตน์ บุญญวัฒน์ คณบดีคณะบัญชี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ยังมีความเชื่อมั่นว่า อาชีพนักบัญชียังเป็นที่ต้องการของตลาดเมืองไทยอยู่เพียงแต่เราจะต้องสร้างนักบัญชีที่มีศักยภาพสูงที่จะสามารถปฏิบัติงานได้ในโลกยุคใหม่ ซึ่งจุดเด่นของหลักสูตรคณะบัญชี ม.กรุงเทพที่จะทำให้ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ สอดคล้องกับความต้องการที่ตลาดมองหา ได้แก่…
สถาบันการบินพลเรือน เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ : หมดเขต 8 เมษายน 2567

สถาบันการบินพลเรือน เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ : หมดเขต 8 เมษายน 2567

สถาบันการบินพลเรือน เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ : หมดเขต 8 เมษายน 2567 . หลักสูตรที่เปิดรับ หลักสูตรประกาศนียบัตรทักษะช่างอากาศยาน (ปวส.) สาขาวิชาเทคโนโลยีระบบอากาศยาน หลักสูตรนายช่างภาคพื้นดิน สาขาวิชาช่างเครื่องบิน วิชาเอกเครื่องยนต์แก๊สเทอร์ไบน์ สาขาวิชาช่างเอวิโอนิกส์ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการการบิน วิชาโทการจราจรทางอากาศ  วิชาโทการท่าอากาศยาน วิชาโทการขนส่งสินค้าทางอากาศ วิชาโทโลจิสติกส์การบิน วิชาโทธุรกิจสายการบิน  วิชาโทการบำรุงรักษาอากาศยาน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการการบิน (แผนการศึกษาเทียบโอน) (2ปี) วิชาโทการท่าอากาศยาน วิชาโทการขนส่งสินค้าทางอากาศ วิชาโทโลจิสติกส์การบิน วิชาโทธุรกิจสายการบิน…

คณบดี CITE DPU เผย AI คือ Soft Skill ใหม่ในยุคดิจิทัล พร้อมจี้รัฐเร่งพิจารณากฎหมายควบคุม ป้องกันใช้งาน AI ไม่เหมาะสม

ปัจจุบันเทคโนโลยี AI (Artificial Intelligence)  ก้าวเข้ามามีบทบาทสำคัญในชีวิตประจำวัน ทุกภาคส่วนจำเป็นต้องเตรียมตัวให้พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว กว่าปีเศษที่มีการใช้งาน Generative AI อย่างแพร่หลาย ทั้ง Chat GPT (Generative Pre-trained Transformer) รวมทั้ง AI ตัวอื่นอย่าง Gemini (ชื่อเดิม Bard) Copilot และ AI ตัวอื่น ๆ ถูกนำมาเป็นตัวช่วยในการทำงานต่าง ๆ ให้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น แต่ขณะเดียวกันหลายองค์กรเริ่มลดกำลังคนและนำ AI มาแทนที่มนุษย์ ดังนั้นเราจึงจำเป็นต้องเรียนรู้และใช้งาน AI เพื่อให้สามารถปรับตัว อยู่ร่วมและใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีนี้ได้อย่างเต็มที่ ผศ.ดร.ชัยพร เขมะภาตะพันธ์ คณบดีวิทยาลัยนวัตกรรมด้านเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ (CITE) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ (DPU) เปิดเผยว่า ปัจจุบันการทำงานของเทคโนโลยี AI มีความก้าวหน้าไปอย่างก้าวกระโดด มีการนำมาใช้งานในภาคส่วนต่าง ๆ มากมาย เราจะพบว่า AI มีความสามารถต่าง ๆ อย่างที่เราคาดไม่ถึงมากมาย เช่น การสร้างตัวตนเสมือน การวาดรูป การแต่งนิยาย การสร้างภาพวิดีโอ การแต่งเพลง…

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดรับสมัครผู้ที่สนใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) ภาคต้น ปีการศึกษา 2567

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เปิดรับสมัครแล้ว สำหรับผู้ที่สนใจเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโท (ภาคพิเศษ) ภาคต้น ปีการศึกษา 2567 ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบริการและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม (ภาคพิเศษ) ชื่อปริญญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมบริการและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม), ศศ.ม. (นวัตกรรมบริการและการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม) Master of Arts (Service Innovation and Intercultural Communication), ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตร 162,250 บาท สามารถจบได้ภายใน 2 ปี ขึ้นอยู่กับความตั้งใจของนิสิต เปิดรับสมัครตั้งแต่วันที่ บัดนี้…