มิติใหม่ของ “การเรียนรู้” ที่ยืดหยุ่นไปไกลถึงในชุมชน

เมื่อทางเลือกของการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน ไม่ได้จำกัดกรอบอยู่แค่ ภายใน “ห้องเรียน” เพื่อเป็นการสลายปมคำว่า “การศึกษาในระบบ- นอกระบบ” และร่วมกันหาแนวทางใหม่ๆมาช่วยปิดช่องโหว่ของระบบการศึกษาไทย  จึงเกิดเป็นการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ที่ยืดหยุ่นและตอบโจทย์กับทุกคนมากขึ้น . รู้จักการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น การเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น (Flexible Learning) คือ หนึ่งในแนวทางการศึกษาที่เปิดช่องทางให้แก่ผู้เรียนได้เลือกรูปแบบการเรียนที่ตอบโจทย์ตนเอง นอกจากจะเป็นทางเลือกที่ดีที่จะช่วยลดจำนวนเด็กหลุดออกจากระบบการศึกษาแล้ว การเรียนรู้ยังยืดหยุ่นไปถึงการสร้างองค์ความรู้ให้กับคนในชุมชน โดยการยกระดับชุมชน หรืออาจจะกล่าวได้ว่า “การเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น เป็นการลบภาพจำที่ว่า การศึกษา = โรงเรียน” เพราะการศึกษาในยุคใหม่ ต้องช่วยพัฒนาและสนับสนุนผู้เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลาและทุกสถานการณ์ ที่สำคัญคือทุกคนต้องสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างเท่าเทียมกัน . จุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาและพาผู้เรียนกลับเข้าสู่ระบบการศึกษาอีกครั้ง และลดจำนวนผู้ที่หลุดออกจากระบบการศึกษาลง…

9 เหตุผล ที่ทำให้สิงคโปร์เป็นประเทศที่การศึกษาดีระดับโลก

สิงคโปร์ คือประเทศที่มีระบบการศึกษาที่ดีติดอันดับต้น ๆ ของโลก จากการจัดอันดับขององค์กรต่าง ๆ รวมถึงการสอบ PISA ที่ประเทศสิงคโปร์ได้อันดับที่ 1 ทั้ง 3 ด้าน คือ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และการอ่าน โดยมีเหตุผลหลัก ๆ มาจากปัจจัยดังต่อไปนี้ 1.เน้นการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และแก้ปัญหา ระบบการศึกษาของสิงคโปร์นั้นจะให้ความสำคัญด้านการคิดวิเคราะห์ การตั้งคำถาม และการแก้ปัญหาด้วยตนเองมากกว่าการท่องจำ 2.ให้ความสำคัญกับคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ สิงคโปร์ให้ความสำคัญกับวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มีหลักสูตรที่เข้มข้น นักเรียนทุกคนจะต้องเรียนวิชานี้จนถึงชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3.สิงคโปร์ให้ความสำคัญกับการคัดเลือกครู ครูในสิงคโปร์ต้องผ่านการคัดเลือกอย่างเข้มงวด และได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4.ใช้เทคโนโลยีในระบบการศึกษา สิงคโปร์ใช้เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เช่น…

อนาคตภาพ พลิกโฉมการบริหารงานบุคคล ข้าราชการครู และ บุคลากรทางการศึกษา

การสัมมนา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา วันพุธ 10 มกราคม พ.ศ.2567 โดย ท่านรองศาสตราจารย์ ดร.ประวิต เอราวรรณ์ (เลขาธิการ ก.ค.ศ.) ตระหนักถึงการพลิกโฉมการงานบุคคลของข้าราชการครู และ บุคลากรทางการศึกษา สู่ความเชื่อมั่น ทันสมัย และ มีประสิทธิภาพ ซึ่งประกอบด้วยดังต่อไปนี้ กรอบแนวคิดในการกำหนดแผนการทำงานของสำนักงาน ก.ค.ศ. คุณภาพของนักเรียนแต่ละประเทศ ขึ้นอยู่กับคุณภาพของ “ครู” ปัญหาด้านการศึกษาของประเทศไทย แนวคิดระบบพัฒนาวิชาชีพครู 5 คานงัด การบริหารงานบุคคลข้าราชการครู และ…

สรุป 5 influencer ด้านการศึกษา กา พรรคไหน

เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ.2566 ที่เพจ สุจริตไทย และเพจ Wiriyah Eduzones ได้มีการไลฟ์พูดคุยเกี่ยวกับหัวข้อ “5 influencer ด้านการศึกษา กา พรรคไหน” โดยมีผู้ร่วมพูดคุยเป็นอินฟลูเอ็นเซอร์ทางการศึกษาจากเพจต่าง ๆ ได้แก่ 1.อ.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ จาก เพจ Wiriyah Eduzones 2.ครูทิว จาก เพจ ครูขอสอน 3.ครูกั๊ก จาก เพจ Inskru…

สรุปบทสำรวจ การเรียนในห้องเรียน ยังจำเป็นอยู่ไหมในปัจจุบัน แบบสำรวจจากความคิดเห็นชุมชน EDUZONES

การเรียนในห้องเรียน เป็นการเรียนแบบผู้เรียนและผู้สอนได้พบกันแบบต่อหน้า เป็นรูปแบบการเรียนที่ใช้โดยทั่วกันมาอย่างยาวนาน จนมาถึงยุคที่มีการเรียนออนไลน์ขึ้นมาทดแทนการเรียนในห้องเรียน และในปัจจุบันนั้นเทคโนโลยีเข้าถึงได้ง่ายขึ้น มีแหล่งการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น ผู้คนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านเทคโนโลยีและสื่อการเรียนรู้ต่าง ๆ จึงเกิดประเด็นคำถามที่ว่า การเรียนในห้องเรียน ยังจำเป็นอยู่ไหมในปัจจุบัน ขึ้นมา จากผลสำรวจผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ Eduzones , Wiriyah Eduzones และ ครู Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 2 พฤษภาคม 2566 จากความคิดเห็นทั้งหมด 51 ความคิดเห็น พบว่าสามารถแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้  …

สรุป !!! ประเด็นการศึกษา ที่ร้อนแรงที่สุด ในปี 2022 จากชุมชน Eduzones

สรุป !!! ประเด็นการศึกษา ที่ร้อนแรงที่สุด ในปี 2022 จากชุมชน Eduzones . สรุปประเด็นการศึกษาไทยที่ถูกพูดถึงมากที่สุด ปัญหาอะไรบ้างที่ส่งผลกระทบกับครู นักเรียน และการศึกษาไทยในบ้านเรา จากชุมชน Eduzones และแนวทางแก้ไขจาก อาจารย์วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ ผู้ก่อตั้ง Eduzones จะเป็นอย่างไรไปดูกัน !!! . 1. ครูไม่ได้สอน หนึ่งปัญหาคลาาสิคของการศึกษาไทยคือ การเอา “คนที่ไม่ใช่ไปทำงานที่ไม่ชอบ” ครูควรจะได้เอาเวลาไปสอนนักเรียน กลับต้องมาทำงานธุรการ และงานนอกเหนือการสอน การทำบัญชี-การเงิน…

กระทรวงศึกษาธิการ ปลดล็อคการศึกษาไทย พลิกฟื้นวิกฤติด้วยนโยบาย “ซ่อม สร้าง ป้องกัน”

  กระทรวงศึกษาธิการ ปลดล็อคการศึกษาไทย พลิกฟื้นวิกฤติด้วยนโยบาย “ซ่อม สร้าง ป้องกัน”   เชื่อหรือไม่ว่า เศรษฐกิจไทยจะดีขึ้นได้ การศึกษาของเด็กไทยคือหัวใจสำคัญที่จะช่วยขับเคลื่อนและผลักดันเศรษฐกิจเติบโตอย่างรวดเร็ว เมื่อทั้งสองด้านเดินหน้าไปพร้อมกัน ประชาชนในประเทศไทยก็จะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และมีความมั่นคงในชีวิตได้อย่างยั่งยืน ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ยึดหลักนโยบายของรัฐบาลและแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยมุ่งพัฒนาการศึกษาไทยใน 3 ด้าน ด้วยนโยบาย “ซ่อม สร้าง ป้องกัน” คือ การลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา (ซ่อม) การสร้างโอกาสทางการศึกษา (สร้าง) และการยกระดับคุณภาพทางการศึกษา (ป้องกัน) นางสาวตรีนุช…