มิติใหม่ของ “การเรียนรู้” ที่ยืดหยุ่นไปไกลถึงในชุมชน

เมื่อทางเลือกของการเรียนรู้ในยุคปัจจุบัน ไม่ได้จำกัดกรอบอยู่แค่ ภายใน “ห้องเรียน” เพื่อเป็นการสลายปมคำว่า “การศึกษาในระบบ- นอกระบบ” และร่วมกันหาแนวทางใหม่ๆมาช่วยปิดช่องโหว่ของระบบการศึกษาไทย  จึงเกิดเป็นการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ที่ยืดหยุ่นและตอบโจทย์กับทุกคนมากขึ้น . รู้จักการเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น การเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น (Flexible Learning) คือ หนึ่งในแนวทางการศึกษาที่เปิดช่องทางให้แก่ผู้เรียนได้เลือกรูปแบบการเรียนที่ตอบโจทย์ตนเอง นอกจากจะเป็นทางเลือกที่ดีที่จะช่วยลดจำนวนเด็กหลุดออกจากระบบการศึกษาแล้ว การเรียนรู้ยังยืดหยุ่นไปถึงการสร้างองค์ความรู้ให้กับคนในชุมชน โดยการยกระดับชุมชน หรืออาจจะกล่าวได้ว่า “การเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น เป็นการลบภาพจำที่ว่า การศึกษา = โรงเรียน” เพราะการศึกษาในยุคใหม่ ต้องช่วยพัฒนาและสนับสนุนผู้เรียนได้ทุกที่ ทุกเวลาและทุกสถานการณ์ ที่สำคัญคือทุกคนต้องสามารถเข้าถึงการเรียนรู้ได้อย่างเท่าเทียมกัน . จุดมุ่งหมาย เพื่อค้นหาและพาผู้เรียนกลับเข้าสู่ระบบการศึกษาอีกครั้ง และลดจำนวนผู้ที่หลุดออกจากระบบการศึกษาลง…

สรุปความคิดเห็น “ความเหลื่อมล้ำของการศึกษาไทย” ที่เห็นได้ชัดที่สุด คืออะไร?

“ความเหลื่อมล้ำของการศึกษาไทย” ที่เห็นได้ชัดที่สุด คืออะไร? จากการสำรวจความคิดเห็นของชุมชนชาว Eduzones พบว่า มีผู้คนเข้ามาแสดงความคิดเห็นกันอย่างหลากหลาย โดยความคิดเห็นบางส่วนสะท้อนในมุมมองที่ว่า “ความเหลื่อมล้ำของการศึกษาไทย” สามารถเห็นได้อย่างชัดเจน จนไม่สามารถอธิบายออกมาเป็นคำพูดได้หมด  ในขณะที่มีความคิดเห็นบางส่วนมองว่า มุมมองเกี่ยวกับความเหลื่อมล้ำเป็นเรื่องของความคิดส่วนบุคคล พร้อมทั้งมองว่าทุกคนสามารถเท่าเทียมกันได้เพราะทุกอย่างขึ้นอยู่กับศักยภาพ ความขยันและความพยายามของตนเอง วันนี้ ทาง Eduzones จึงได้รวบรวมและสรุปความคิดเห็นในประเด็นที่ว่า “ความเหลื่อมล้ำของการศึกษาไทย” ที่เห็นชัดที่สุด คืออะไร? โดยได้แบ่งออกเป็น 5 ประเด็นหลัก ดังนี้ “ความเหลื่อมล้ำของการศึกษาไทย” ที่เห็นได้ชัดที่สุด คือ… 1. การเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาที่ไม่เท่าเทียมกัน ความเหลื่อมล้ำของการศึกษาที่เห็นได้ชัด…

การเมืองหม่นหมอง เศรษฐกิจซบเซา ทำยอดเด็ก Dropout พุ่งทะลุ 1 ล้านคน

เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ.2567 นายสมพงษ์ จิตระดับ นักวิชาการด้านการศึกษา ในฐานะกรรมการบริหารกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เปิดเผยว่า สถานการณ์เด็กออกกลางคันหรือเด็กหลุดจากระบบการศึกษากำลังเป็นไปอย่างหนักหน่วง โดยข้อมูลจากกสศ. พบว่าในปี พ.ศ. 2566 มีเด็กออกกลางคันประมาณ 1,025,514 คน  ซึ่งในอดีตที่ผ่านมาจะมีเด็กออกกลางคันปีละกว่า 5 แสนคน ถือว่าเพิ่มขึ้นอย่างเท่าตัว และส่วนใหญ่เด็กจะออกกลางคันในช่วงรอยต่อระหว่างมัธยมต้นไปสู่มัธยมปลาย แต่ปัจจุบันพบว่ามีจำนวนเด็กที่ออกกลางคันในช่วงรอยต่ออื่น เพิ่มมากขึ้นเช่นกัน เช่น จากระดับประถมศึกษาไปสู่ระดับมัธยมศึกษา หรือจากมัธยมศึกษาตอนต้นไปสู่สายอาชีพ . “สำหรับสาเหตุเด็กออกกลางคัน ไม่ได้มาจากเรื่องความยากจนเพียงอย่างเดียวเหมือนในอดีต  เพราะการเมือง…

ศึกษาธิการ – ครู – ผู้ประเมินสมศ. กับความเคลื่อนไหวการศึกษาไทยครั้งใหม่ “จับมือไว้แล้วไปด้วยกัน”

ศึกษาธิการ – ครู – ผู้ประเมินสมศ. กับความเคลื่อนไหวการศึกษาไทยครั้งใหม่ “จับมือไว้แล้วไปด้วยกัน” นโยบาย “เรียนดี มีความสุข” เป็นนโยบายการศึกษาของพลตำรวจเอก เพิ่มพูน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการที่มุ่งยกระดับคุณภาพการศึกษาไทยโดยเริ่มจากการทำให้ครูนักเรียน และผู้ปกครอง มีคุณภาพชีวิตที่ดีและมีความสุข ซึ่งจะส่งผลให้ครูสามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนักเรียนมีผลการเรียนที่ดีขึ้น ดำเนินการภายใต้แนวคิด “จับมือไว้ แล้วไปด้วยกัน” โดยมุ่งให้ทุกภาคส่วน ทั้งผู้บริหาร ครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษา ผู้ปกครอง และชุมชนมีส่วนร่วมในการช่วยยกระดับและพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทยเพื่อให้การศึกษาไทยมีคุณภาพมาตรฐานทัดเทียมสากล โดยการทำงานของ สมศ. นั้นอยู่ภายใต้ นโยบาย “ลดภาระ…
ไทยคว้าอันดับ 1 เวลาเรียนนานสุดในโลก จาก World Population Review

ไทยคว้าอันดับ 1 เวลาเรียนนานสุดในโลก จาก World Population Review

ไทยคว้าอันดับ 1 เวลาเรียนนานสุดในโลก จาก World Population Review . “World Population Review” องค์กรอิสระ ได้ทำการสำรวจสำมะโนประชากรและสถิติประชากรของโลก เพื่อหา 10 ประเทศในปี 2023 ที่มีชั่วโมงเรียนเฉลี่ยมากที่สุดในหนึ่งวัน โดยข้อมูลดังกล่าวรวมไปถึงชั่วโมงที่เด็กต้องอยู่ในห้องเรียน ไม่ได้อ้างอิงจากเวลาเปิด-ปิดโรงเรียนโดยเฉลี่ย และอาจจะรวมหรือไม่รวมเวลาที่ไม่ใช่การเรียนการสอน เช่น ช่วงพักกลางวันหรือช่วงพักเบรกสั้น ๆ ผลสำรวจดังนี้  ไทย : เรียน 9.5 ชั่วโมงต่อวัน กัมพูชา :…
พระอาจารย์ชยสาโร วิเคราะห์ปัญหาการศึกษาไทย ทำไมตามหลังตะวันตกตลอด

พระอาจารย์ชยสาโร วิเคราะห์ปัญหาการศึกษาไทย ทำไมตามหลังตะวันตกตลอด

พระอาจารย์ชยสาโร วิเคราะห์ปัญหาการศึกษาไทย ทำไมตามหลังตะวันตกตลอด . พระอาจารย์ชยสาโร ได้วิเคราะห์ ปัญหาการศึกษาในเมืองไทย ว่า คนที่มีฐานะดีมาก จะส่งลูกไปเรียนเมืองนอก ถ้าฐานะปานกลางก็ส่งลูกไปโรงเรียนคริสต์ จบแล้วก็ไปเรียนมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ ก็แปลว่า ชนชั้นนำของเมืองไทย ปัญญาชนเติบโตโดยเข้าใจหลักพุทธศาสนาน้อยมาก คำสั่งสอนเพื่อพัฒนาตนหรือสังคมแทบจะไม่รู้จักเลย อาตมาว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดาย และไม่น่าเป็นไปได้ . ปัจจุบัน ในอังกฤษได้เพิ่มหลักสูตรการเรียนรู้เรื่องความฉลาดในเรื่องพฤติกรรม ความสามารถในการปรับตัวอยู่กับชุมชน การควบคุมบริหารอารมณ์ตัวเอง ในเมืองนอกตอบรับเรื่องพวกนี้ หลายโรงเรียนมีคอร์สสอนเรื่องสติ การรู้จักตัวเอง เพื่อให้อยู่ในปัจจุบันขณะ เราอยู่ในยุคที่ทางตะวันตกกำลังสำนึกถึงความบกพร่องในระบบการศึกษา ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาชีวิตมีอยู่ในพุทธศาสนา . ถ้าหากมีการพัฒนาการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญา เมืองไทยก็เป็นผู้นำเรื่องนี้ แต่คนยังขาดความรู้และความศรัทธาในภูมิปัญญาตัวเอง กลับไปยกย่องตะวันตก…

สรุปบทสำรวจ นโยบายการศึกษาเรื่องที่อยากให้พรรคการเมืองพลักดัน ใน #เลือกตั้ง2566 แบบสำรวจจากความคิดเห็นชุมชน EDUZONES

นับถอยหลัง วันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ที่จะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 แต่ละพรรคได้มีนโยบายด้านต่าง ๆ ที่ใช้ในการหาเสียงรวมถึงนโยบายด้านการศึกษา Eduzones ได้มีการสำรวจว่า “อยากให้พรรคการเมือง พลักดันนโยบายการศึกษาเรื่องอะไรมากที่สุด ?”   จากผลสำรวจผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ Eduzones , Wiriyah Eduzones และ ครู Eduzones โดยเก็บข้อมูลภายในวันที่ 3 พฤษภาคม 2566 นโยบายการศึกษาเรื่องที่อยากให้พรรคการเมืองพลักดัน แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่…

5 แนวโน้มการศึกษา ติดตามโลกการศึกษาในอีก 10 ปีข้างหน้า

โลกของการศึกษาเติบโตขึ้นในทุกวัน โลกอนาคตที่เราจะไปถึงลวนแล้วแต่ต้องอาศัยความรู้ในการขับเคลื่อนไปข้างหน้าทุกวัน การเรียนรู้จึงเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้  เคยสงสัยไหมว่าการส฿กษาในอนาคตจะเป็นอย่างไร? พรุ่งนี้การศึกษาอาจจะไม่ใช่ในแบบที่เรารู้จักอีกต่อไป อนาคตอีก 10 ปีข้างหน้ากันว่าจะเป็นอย่างไร? HolonIQ ทำวิจัยเกี่ยวกับแนวโน้มซึ่งพูดถึงเรื่องการศึกษาในอนาคตอย่างปี 2030 นี้ ว่ามีแนวโน้มจะเป็นอย่างไร บอกเลยว่าเป็นวิจัยที่ใช้ข้อมูลระดับโลก ตัวอย่างเช่น OCED และ UNESCO เป็นต้น มาดูไปพร้อมกันเลย. Education As-Usual สถานศึกษา สถานให้ความรู้ยังคงกำรงอู่เช่นเดิมการศึกษาในอนาคตนั้นจะยังคงเป็นสถานศึกษาเช่นเดิม แต่จะขยายวงการในแต่ละช่วงวัยมากยิ่งขึ้น เกิดการศึกษาในรูปแบบใหม่ ๆ มีแนวโน้มที่จะเป็นการ reskill เพื่อให้ตอบโจทย์การทำงานข้ามสาย รวมถึงเทรนด์การเรียนเกิดขึ้นได้กับคนทุกวัย การเรียนหรือทำงานผ่านออนไลน์จะถูกยกมาเป็นประเด็นสำคัญ…

สรุป !!! ประเด็นการศึกษา ที่ร้อนแรงที่สุด ในปี 2022 จากชุมชน Eduzones

สรุป !!! ประเด็นการศึกษา ที่ร้อนแรงที่สุด ในปี 2022 จากชุมชน Eduzones . สรุปประเด็นการศึกษาไทยที่ถูกพูดถึงมากที่สุด ปัญหาอะไรบ้างที่ส่งผลกระทบกับครู นักเรียน และการศึกษาไทยในบ้านเรา จากชุมชน Eduzones และแนวทางแก้ไขจาก อาจารย์วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ ผู้ก่อตั้ง Eduzones จะเป็นอย่างไรไปดูกัน !!! . 1. ครูไม่ได้สอน หนึ่งปัญหาคลาาสิคของการศึกษาไทยคือ การเอา “คนที่ไม่ใช่ไปทำงานที่ไม่ชอบ” ครูควรจะได้เอาเวลาไปสอนนักเรียน กลับต้องมาทำงานธุรการ และงานนอกเหนือการสอน การทำบัญชี-การเงิน…

การประเมินคุณภาพข้อมูลด้านการศึกษาของประเทศไทย (Thailand Education Data Quality Assessment Framework: Thailand Ed – DQAF)

ข้อมูลจาก สำนักเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา           จากคำกล่าว “คุณภาพด้านการศึกษาเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานระดับสากล” จะเป็นความจริงหรือไม่ วันนี้ทาง Eduzones ก็มีคำตอบมาให้เเล้ว เป็นข้อมูลดี ๆ สำหรับเกณฑ์การประเมินการศึกษา เรามาดูกันเลยว่าประเทศไทยมีระดับการประเมินอยู่ในระดับใดเเละมีความพร้อมด้านเทคโนโลยีมากน้อยเพียงใดที่จะสามารถพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพมากขึ้นได้ เราไปดูกันเลยค่ะ             โลกปัจจุบันได้มีการดำเนินงานด้านการบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศในการรวบรวมและจัดทำฐานข้อมูล (Database) ให้อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เพื่อให้การปฏิบัติงานด้านข้อมูลสามารถเข้าถึงอย่างสะดวกมีประสิทธิภาพของโครงสร้างของฐานข้อมูลที่ชัดเจน พร้อมพัฒนาการบริหารจัดการข้อมูลและสารสนเทศที่รองรับความต้องการของผู้รับบริการ หรือผู้มีส่วนได้เสีย สำหรับเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนประเมินผลทางการศึกษา…