สพฐ.สั่งลุย! ขับเคลื่อนเรียนรู้วิชาประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง ลงสู่ห้องเรียน — 10 มิถุนายน 2565

  เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2565 ที่ผ่านมา นายอัมพร พินะสา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) นำทีมเข้าเป็นประธานการประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ หน้าที่พลเมือง และคุณธรรมจริยธรรม พร้อมด้วย นางเกศทิพย์ ศุภวานิช รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในฐานะประธานคณะกรรมการฯ , นายเทอดชาติ ชัยพงษ์ ผู้ช่วยเลขาธิการ กพฐ. , นายอโณทัย ไทยวรรณศรี ที่ปรึกษาด้านเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน และผู้แทนสำนักต่างๆของ สพฐ. กว่า 10…

สำนักงานราชบัณฑิตยสภาจัดอบรม “เสริมความรู้ประวัติศาสตร์ไทย 4 ภูมิภาค ประจำปี 2565” สำหรับบุคลากรผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ไทยทั้งสายสามัญและสายอาชีพ

สำนักงานราชบัณฑิตยสภากำหนดจัด “โครงการส่งเสริมความรู้ประวัติศาสตร์ไทย 4 ภูมิภาค ประจำปี 2565 สำหรับบุคลากรผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ไทยทั้งสายสามัญและสายอาชีพ” ใน 4 ภูมิภาค คือ ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคใต้ และภาคกลางและภาคตะวันออก โดยมีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยและประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ด้วยระบบ ZOOM Cloud Meeting โดยไม่มีค่าลงทะเบียนและค่าเอกสารประกอบการอบรม   การอบรมจะแบ่งออกเป็น 4 รุ่น รุ่นละ 400 คนตามภูมิภาคต่าง ๆ ดังนี้ รุ่นที่ 1…

3 วิธีทำอย่างไรให้นักเรียนหลงรัก (วิชา) ประวัติศาสตร์

  นักเรียนมักจะบ่นว่าชั้นเรียนประวัติศาสตร์นั้นน่าเบื่อ แต่ก็มีกลยุทธ์หลายอย่างที่ครูสามารถใช้เพื่อดึงดูดนักเรียนในการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ได้เช่นกัน         1 ใช้มัลติมีเดียเข้าช่วย การสอนประวัติศาสตร์ด้วยการรวมสื่อภาพและเสียงเข้าด้วยกันด้วยสื่อมัลติมีเดียเป็นวิธีที่ยอดเยี่ยมในการดึงดูดนักเรียน โดยอาจไม่จำเป็นต้องเป็นการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าที่สุด แต่เป็นรวบรวมเอาภาพยนตร์ หนังสือ งานศิลปะ เอกสารและแผนที่สำคัญๆ ไว้ด้วยวิธีการนี้ โดย John Fielding จากมหาวิทยาลัย Queen กล่าวว่า การแสดงภาพยนตร์และแนะนำแผนที่บันทึกการสำรวจสำมะโนประชากรจะช่วยให้นักเรียนจับต้องกับประวัติศาสตร์ได้  หากหัวข้อเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ทางตะวันตก ประวัติศาสตร์อเมริกันให้รวมการฉายภาพยนตร์กับงานวิจัยที่เกี่ยวกับสงครามพื้นเมืองอเมริกันเข้ามาสอนด้วยเพื่อให้เชื่อมโยงกัน       2 ใช้การอภิปรายและจำลองเหตุการณ์ เพื่อให้ชั้นเรียนประวัติศาสตร์มีชีวิตชีวาจริง ๆ…