กระทรวงศึกษาธิการ แจงแนวทางหักหนี้ครู “เพิ่มพูน” คอนเฟิร์ม สวัสดิภาพครูตอนแก่มีเงินเหลือ

กระทรวงศึกษาธิการ แจงแนวทางหักหนี้ครู “เพิ่มพูน” คอนเฟิร์ม สวัสดิภาพครูตอนแก่มีเงินเหลือ

กระทรวงศึกษาธิการ แจงแนวทางหักหนี้ครู “เพิ่มพูน” คอนเฟิร์ม สวัสดิภาพครูตอนแก่มีเงินเหลือ . เมื่อวันที่ 13 กุมภาพันธ์ 2567 นายสิริพงศ์ อังคสกุลเกียรติ ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจำกระทรวงศึกษาธิการ และ โฆษกกระทรวงศึกษาธิการ เปิดเผยว่า จากความเข้าใจคลาดเคลื่อนในการนำเสนอหัวข้อข่าว เรื่องการหักเงินบำเหน็จบำนาญแก้ไขปัญหาหนี้สินครู โดยอาจทำให้เข้าใจผิดเกี่ยวกับการหักหนี้จากเงินบำนาญ และเกรงว่าจะไม่มีเงินเหลือใช้หลังเกษียณนั้น . โฆษก ศธ. กล่าวว่า ในนามกระทรวงศึกษาธิการจึงอยากชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับทุกฝ่ายว่า ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการหักเงินเดือนบำเหน็จบำนาญข้าราชการเพื่อชำระหนี้เงินกู้ให้แก่สวัสดิการภายในส่วนราชการและสหกรณ์ พ.ศ. 2551 ข้อ 7 (5) กำหนดไว้ว่า…
สพฐ. เร่งแก้หนี้ครู 9 แสนครู หนี้รวม 1.4 ล้านล้านบาท เร่งแก้ให้ทันปี 67

สพฐ. เร่งแก้หนี้ครู 9 แสนครู หนี้รวม 1.4 ล้านล้านบาท เร่งแก้ให้ทันปี 67

สพฐ. เร่งแก้หนี้ครู 9 แสนครู หนี้รวม 1.4 ล้านล้านบาท เร่งแก้ให้ทันปี 67 . เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2566 ว่าที่ ร.ต.ธนุ วงษ์จินดา เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา รักษาราชการแทนเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) ประชุมแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับ ผอ.สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา 245 เขตทั่วประเทศ . ว่าที่ ร.ต.ธนุ กล่าวว่า ปัจจุบันภาระหนี้สินครูก้อนใหญ่ที่สุดของกระทรวงศึกษาธิการอยู่ที่ สพฐ.จึงได้มอบหมายให้ สถานีแก้หนี้ระดับเขตพื้นที่…

เล็ง! ดึงเงินบำนาญแก้ปัญหาหนี้ครู – 1 สิงหาคม 2565

  นายสุทิน แก้วพนา รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ  เผย ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูของกระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) โดยการจัดตั้งสถานีแก้หนี้ ทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษา 558 สถานี และระดับจังหวัดให้เป็นกลไกหลักระดับพื้นที่นั้น ปัจจุบัน อยู่ในระหว่างการประสานงานร่วมกันระหว่างสหกรณ์ออมทรัพย์ครูแต่ละจังหวัดกับสถานี้แก้หนี้ครูระยะแรก ซึ่งจะมีการจัดทำข้อมูลสรุปว่าในเฟสแรกนี้จะมีสหกรณ์ที่เข้าร่วมแก้ไขปัญหาหนี้สินครูกี่แห่ง อีกทั้ง ศธ.ยังได้ประสานไปยังกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) เพื่อที่จะทำข้อตกลงร่วมกันในการนำเงินบำเหน็จบำนาญมาช่วยชำระหนี้ให้แก่ครูในกลุ่มครูที่มีหนี้อยู่ในสถานะวิกฤติ โดยจะนำเงินที่ครูจะได้รับหลังเกษียณอายุราชการบางส่วนมาใช้ชำระหนี้ ที่สำคัญคือผู้ที่มีคุณสมบัติตามข้อตกลงนี้จะต้องมีสถานะหนี้ที่อยู่ในกลุ่มวิกฤติจริงๆ ซึ่งมีอยู่ประมาณ 14,000 ราย จากกลุ่มลูกหนี้ที่เข้าโครงการ ทั้งนี้ ตนคาดว่าเมื่อดำเนินการจัดทำข้อตกลงเรียบร้อยแล้ว ครูกลุ่มหนี้วิกฤติก็จะสามารถนำเงินจาก กบข.ของตนเองมาชำระหนี้ได้ รายละประมาณ…

สินเชื่อโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชีวิตครู จากธนาคารออมสิน

  สินเชื่อโครงการสินเชื่อเพื่อพัฒนาชีวิตครู จากธนาคารออมสิน เพื่อข้าราชการครู นำไปชำระหนี้ ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมสนับสนุนการลงทุนเสริมเพิ่มอาชีพ เพื่อให้ครูปราศจากหนี้สิน สามารถอุทิศเวลาให้กับการพัฒนาการเรียนการสอนอย่างเต็มที่ คุณสมบัติกลุ่ม  มีสมาชิกเป็นครู ที่หน่วยงานต้นสังกัดตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อำเภอ/จังหวัดเดียวกัน จำนวนตั้งแต่ 50 คนขึ้นไปรวมตัวกัน และมีกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง  มีคณะกรรมการบริหาร  มีระบบการบริหารจัดการที่ชัดเจน กำหนดเงื่อนไขการเป็นสมาชิก และการพ้นสภาพการเป็นสมาชิกของกลุ่มใหญ่อย่างชัดเจน  มีเงินกองทุนสำรองภายในกลุ่มจากการออมร่วมกันของสมาชิกมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 เดือน  มีแนวทาง/มาตรการ/วิธีการ/โครงการ/แผนงานในการแก้ไขปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตของสมาชิกในกลุ่มให้ดีขึ้น ทั้งนี้ สมาชิกออมเงินสัจจะเข้ากองทุนสำรองของกลุ่มใหญ่ จำนวนเท่ากันทุกเดือน โดยมีการจัดทำทะเบียนคุมการรับฝากของสมาชิก   คุณสมบัติผู้กู้ เป็นข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ…

อัปเดต! สถานีแก้หนี้ครู ปรับโครงสร้างหนี้แล้ว 3,623 ราย วงเงินกว่า 5.6 พันล้านบาท – 7 กรกฎาคม 2565

  กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.)  จัดการประชุมติดตามผลการดำเนินงานคณะกรรมการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา หน่วยงานทางการศึกษา ของสถานีแก้หนี้ครู ในพื้นที่ภาคเหนือ-ภาคใต้ ผ่านระบบ Zoom โดยมีนางสาวตรีนุช เทียนทอง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ (รมว.ศธ.) ได้กล่าวมอบนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาหนี้สินครูฯ ว่า การแก้ไขปัญหาหนี้สินครูฯเป็นนโยบายที่สำคัญ และจริงจังของรัฐบาล ช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ศธ.ได้วิเคราะห์ถึงปัญหา พบว่า ภาพรวมของหนี้สินครูและบุคลากรทางการศึกษา มีสหกรณ์ออมทรัพย์ครูเป็นเจ้าหนี้รายใหญ่ จึงนำมาสู่การวางแนวทางแก้ไขปัญหาหนี้สินครู โดยใช้สหกรณ์ออมทรัพย์ครูเป็นฐาน และบูรณาการความร่วมมือร่วมกับกระทรวงการคลัง ธนาคารแห่งประเทศไทย สถาบันการเงินต่างๆ ชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ กรมส่งเสริมสหกรณ์ เป็นต้น โดยได้รับการสนับสนุนจากคณะกรรมการกำกับการแก้ไขปัญหาหนี้สินของประชาชนรายย่อยเป็นอย่างดี…