10 เรื่องที่สำคัญ ที่น้องๆควรจะรู้ก่อนการสมัคร TCAS รอบที่1 portfolio

1.อยากเข้าที่ไหนต้องอ่านระเบียบการที่นั่น อันนี้พี่แฮนด์ขอขึ้นเป็นบทเรียน 101 ประจำเด็ก #TCAS ทุกรอบเลยละกัน โดยเฉพาะในรอบที่1 ที่การกำหนดคุณสมบัติ/เกณฑ์คัดเลือก/จำนวนรับ ต่างๆนั้นมาจากทางมหา’ลัย ไม่ใช่ ทปอ. โดย ทปอ.เพียงแค่กำหนดแนวทางและกรอบเท่านั้นว่ารอบที่1 ต้องรับแบบนี้ ช่วงนี้ ส่งชื่อมาตามนี้ แต่การกำหนดเกณฑ์คุณสมบัติต่างๆ ทางมหาวิทยาลัยจะเป็นผู้จัดการทั้งหมด เพราะฉะนั้น #ตนเป็นที่พึ่งแห่งตนนะครับ ดีที่สุดคืออ่านระเบียบการตรวจสอบคุณสมบัติ เกณฑ์คัดเลือกต่างๆให้ถี่ถ้วนก่อนทำการสมัครนะครับ . 2.กำหนดการต้องเป๊ะ! อันนี้สำคัญสุดนะครับน้องๆ เตรียมพอร์ต เตรียมตัวมาดีแค่ไหน แต่ถ้าเลยป้าย ต้องไปลงป้ายหน้าไปจอดรอบ 2 เลยนะครับ เพราะฉะนั้นอย่าไปฝังใจจำแค่ว่า…

คลังข้อสอบ O-NET/9 วิชาสามัญ/ GAT-PAT

คลังข้อสอบ O-NET/9 วิชาสามัญ/ GAT-PAT คลังข้อสอบ O-NET O-NET ม.6 ปี/วิชา ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุข-พลศึกษา การงานฯ อังกฤษ 2549 ดาวน์โหลด – ดาวน์โหลด ดาวน์โหลด – – – 2550 ดาวน์โหลด – ดาวน์โหลด ดาวน์โหลด – – –…

มาแล้ว! ​สถิติคะแนนสูงสุด – ต่ำสุด TCAS รอบที่ 3 ม.เกษตรศาสตร์

อีกไม่นานก็ใกล้สำหรับการสมัครเข้าศึกษาผ่านระบบ TCAS64 รอบที่ 3 กันแล้ว วันนี้เราจึงมีสถิติคะแนนสูงสุด – ต่ำสุด TCAS รอบที่ 3 รับตรงร่วมกัน ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในปีการศึกษา 2562 และ 2563 มาฝากกันค่ะ   สถิติคะแนนสูงสุด – ต่ำสุด รอบที่ 3 ม.เกษตรศาสตร์ TCAS62 >>> คลิก สถิติคะแนนสูงสุด – ต่ำสุด รอบ…

เช็ก! สถิติคะแนนต่ำสุด-สูงสุด TCAS รอบที่ 3 Admission 1 ของจุฬาฯ ย้อนหลัง 3 ปี

สำหรับผู้ที่สนใจสมัครเข้าศึกษาในระบบ TCAS รอบที่ 3 Admission 1 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันนี้เรามีสถิติคะแนนต่ำสุด-สูงสุด TCAS รอบ3 Admission 1 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยย้อนหลัง 3 ปี เพื่อเป็นอีกหนึ่งตัวช่วยในการตัดสินใจกันค่ะ   สถิติคะแนนสูงสุด – ต่ำสุด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย TCAS61 รอบที่ 3.1 >>> คลิก  สถิติคะแนนสูงสุด – ต่ำสุด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย TCAS62 รอบที่…

8 สิ่งที่เด็ก dek65 ควร “รู้จัก” เพื่อรับมือ TCAS65

1.รู้จักตัวเอง การรู้จักตัวเองในที่นี้ไม่ใช่หมายถึงการ รู้ว่าตัวเองบ้านอยู่ไหน พ่อแม่เป็นใครนะครับ ฮ่าๆ แต่หมายถึงการรู้ในสิ่งที่ตัวเองชอบตัวเองรักอยากจะเรียน อยากจะเป็นและอยากจะทำในอนาคต ซึ่งใครที่รู้จักตัวเองได้เร็ว พี่แฮนด์บอกเลยว่า ได้เปรียบชาวบ้านแน่นอน เพราะคนที่รู้จักตัวเองตั้งแต่เนิ่นๆ จะสามารถเตรียมตัวเตรียมการได้ก่อนใคร เพราะฉะนั้นแล้วน้องๆคนไหนที่ยังเอ๋อๆอยู่ หาตัวเองไม่เจอ รีบซะนะครับ โดยเฉพาะก่อนการที่จะขึ้นชั้น ม.6 การค้นหาตัวเองน้องๆอาจมองว่าเป็นเรื่องยาก พี่แฮนด์ขอแนะนำให้น้องที่ยังไม่รู้ว่าตัวเองชอบอะไร ลองหาข้อมูลคณะต่างที่เปิดสอนอยู่ว่าเรียนเกี่ยวกับอะไร หรือดูอาชีพที่ตัวเองมองว่าทำแล้วจะมีความสุข ซึ่งข้อมูลพวกนี้สามารถหาได้ตามอินเทอร์เน็ตหรืองานOPEN HOUSE เปิดบ้านของมหาวิทยาลัยต่างๆ หรือลองทำแบบทดสอบค้นหาตัวเองของ eduzones ได้ที่ >> คลิก 2.รู้จักเส้นทาง เส้นทางที่ว่านี้ก็คือเส้นทางในการเข้าสู่มหาวิทยาลัยครับ น้องๆมัธยมปลายทุกคนโดยเฉพาะ ม.6 ควรจะรู้จักถึงเส้นทางที่จะไปถึงเส้นชัยที่ตัวเองต้องการ…

ทปอ.ขอความร่วมมือทุกมหา’ลัย ประกาศรับสมัคร รอบ 5 วันที่ 9 มิ.ย.

เมื่อวันที่ 28 พ.ค. ดร.พีระพงศ์ ตริยเจริญ ผู้ช่วยเลขาธิการที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ในฐานะผู้จัดการระบบการคัดเลือกกลางบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา หรือ ทีแคส เปิดเผยว่า ตามที่ ทปอ.ได้เปิดรับสมัครทีแคส รอบ 4 (แอดมิชชั่น 2) ระหว่างวันที่  7-20 พ.ค. โดยเปิดให้ยืนยันสิทธิตั้งแต่วันที่ 29-30 พ.ค. ขณะนี้ ทปอ.ได้ประกาศผลคะแนนและเปิดระบบให้ผู้สมัครเข้ามายืนยันสิทธิแล้ว ซึ่งเป็นการประกาศเร็วกว่ากำหนด 1 วัน เนื่องจากประมวลผลเสร็จเร็ว และมั่นใจว่าการประกาศผลครั้งนี้จะไม่มีปัญหาเหมือนรอบที่ผ่านมา ดร.พีระพงศ์ กล่าวต่อไปว่า กรณีที่มีผู้สมัครบางรายแสดงความคิดเห็นว่าคะแนนของตัวเองที่เลือกคณะ…

เคลียร์ทุกเรื่อง ที่มา/วิธีการคัดเลือก/วิธีการจัดอันดับ/อะไรคือปัจจัยเสี่ยง Admission 2563

แอดมิชชัน ถือเป็นสิ่งสำคัญมากๆอีกเรื่องหนึ่งในชีวิตของน้องๆ ม.6 ในทุกๆปีนะครับ เพราะถือว่าเป็นสะพานในการพาน้องๆไปสู่ความฝันหรือเป้าหมายที่ต้องการหลังจากฝ่าฝันสอบมาอย่างดุเดือดตลอดปีการศึกษาของ ม.6 ซึ่งแน่นอนว่าน้องๆแต่ละคนก็ต้องการความกระจ่างและความมั่นใจมากที่สุดก่อนที่จะทำการเลือกคณะ ซึ่งก็มีหลากหลายคำถามเข้ามาที่พี่แฮนด์มากมายทั้งวิธีการการเลือก แนวโน้มแต่ละคณะ และคำถามอื่นๆ พี่แฮนด์จึงเขียนบทความเพื่อไขข้อสงสัยในหลายเรื่องสำหรับแอดมิชชัน แอดมิชชัน หรือน้องๆอาจจะเรียกว่าแอดกลาง ก็คือการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา (Central University Admissions System – CUAS ) จัดการคัดเลือกโดย ทปอ.  นำมาใช้ครั้งแรกเมื่อปี 2549 แทนการคัดเลือกแบบเอนทรานซ์นั่นเอง ซึ่งจุดประสงค์หลักที่นำระบบแอดมิชชันมาใช้แทนระบบเก่าอย่างเอนทรานซ์ก็เพราะว่า การเอนทรานซ์ จะเน้นในการสอบเพียงอย่างเดียว ทำให้เด็กๆทิ้งการเรียนในห้องเรียน ไปมุ่งมั่นติวกันเพียงอย่างเดียว แต่การแอดมิชชันจะมีการนำเกรดเฉลี่ยในโรงเรียนมาใช้ด้วย…

8 คำแนะนำการเลือกอันดับ #TCASรอบ3 สำหรับน้องๆ #dek63

8 คำแนะนำการเลือกอันดับ #TCASรอบ3 สำหรับน้องๆ #dek63 และน้องๆ #เด็กซิ่ว สำหรับพี่แฮนด์ ในช่วงโค้งสุดท้ายก่อนเปิดรับสมัครรอบ3 ครับ. . 1. การเลือกมี 6 อันดับ ติดตามลำดับที่เลือก ที่เดียวเท่านั้น! ติดอันดับ1 ที่เหลือตัดทิ้ง ไม่ติด1 ดูอันดับต่อไปเรื่อยๆ เพราะฉะนั้นถ้ารักจริง อันดับต้นๆ อย่ามองว่าเสี่ยง จำไว้ “เลือกคือมีโอกาส ไม่เลือกเลย โอกาสเป็นศูนย์!‬” . ‪2. การดูคะแนนต่ำสุดเป็นวิธีที่ดูได้ครับ แต่อย่าลืมว่าคะแนนต่ำสุดไม่ได้เป็นคะแนนที่คงที่…

7 สาระ 7 เรื่องสำคัญ ที่ #dek63 ต้องรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการสมัคร #TCASรอบ3 และ #TCASรอบ4

** โปรแกรม ez admissions เป็นโปรแกรมสำหรับประเมินโอกาสสอบติดในรอบที่4 เท่านั้น 

สูตรวิธีเลือกคณะ TCASรอบ3 และ รอบ4 เบื้องต้น

‪#dek63 ที่จะเลือกคณะ #TCASรอบ3 แต่ถ้ายังเบลอ ไม่รู้ทำไรก่อนดี พี่แฮนด์แนะนำให้ใช้สูตร หยิบ/คัด/แยก/เรียง‬ เพื่อเป็นตัวช่วยเบื้องต้นก่อนนะครับ . ‪1. ให้เลือกคณะทีชอบ ที่สนใจ เหมือนหยิบของใส่ตะกร้า ชอบอะไรหยิบใส่ไว้ก่อน อะไรสวย อะไรสนใจ อย่าเพิ่งไปคิดเยอะ เดี๋ยวค่อยมาคัด . 2. จากนั้นมาคัด โดยให้คัดจากคะแนนที่เรามี เช็คทีละคณะสาขา ดูเกณฑ์คัดเลือก เรามีครบมั้ย คะแนนขั้นต่ำ เราเกินมั้ย ถ้ามีเก็บไว้ ถ้าไม่มีคัดออก . 3.ต่อมาให้แยก แยกจากความอยากเรียน อย่าลืมรอบ3 รอบ4 ติดได้ที่เดียวตามลำดับการเลือก…